1 / 111

กลุ่มโรคติดต่อ โดยการสัมผัส

กลุ่มโรคติดต่อ โดยการสัมผัส. อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์. โรค เอดส์. ลักษณะโรค. A cquired - สภาวะที่เกิดขึ้นมาภายหลัง I mmuno - ภูมิคุ้มกัน D eficiency – ความบกพร่อง S yndrome - กลุ่มอาการ. ลักษณะโรค. เริ่มรู้จักในปีค.ศ.1981

roden
Télécharger la présentation

กลุ่มโรคติดต่อ โดยการสัมผัส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มโรคติดต่อโดยการสัมผัสกลุ่มโรคติดต่อโดยการสัมผัส อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์

  2. โรคเอดส์...

  3. ลักษณะโรค Acquired- สภาวะที่เกิดขึ้นมาภายหลัง Immuno - ภูมิคุ้มกัน Deficiency – ความบกพร่อง Syndrome - กลุ่มอาการ

  4. ลักษณะโรค • เริ่มรู้จักในปีค.ศ.1981 • เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสHIV: Human Immuno-deficiency Virus • เชื้อจะทำลายระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย CD4 (Cluster of Differentiation ) • ทำให้ติดเชื้อป่วยเป็นโรคและเสียชีวิตจากเชื้อโรคฉวยโอกาส (Oportunistic infection)

  5. ผู้ติดเชื้อต่างจากผู้ป่วยเอดส์ผู้ติดเชื้อต่างจากผู้ป่วยเอดส์

  6. ผู้ติดเชื้อผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีอยู่ในร่างกาย ระดับภูมิคุ้มกันปกติ ดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ผู้ป่วยเอดส์ มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีโรคหรือกลุ่มอาการ ที่เกิดจากภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ติดเชื้อต่างจากผู้ป่วยเอดส์

  7. ลักษณะโรค 14 กุมภาพันธ์ 2556 1 มกราคม 2556 1 เมษายน 2556 วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ตรวจเลือด Window period 1. ผลเลือดบวก = รับเชื้อ HIV 2. ผลเลือดลบ 2.1 ยังไม่ได้รับเชื้อ 2.2 รับเชื้อแล้วยังตรวจไม่พบ

  8. ลักษณะโรค ตรวจเลือดไม่ได้เป็นการป้องกัน

  9. ลักษณะโรค การตรวจคัดกรอง (Screening test) การตรวจยืนยัน (Confirmatory test) 1. อีไลซ่า (ELISA : Enzyme Linked Immunosorbent Assay) 2. Particle agglutination (PA) 3. การทดสอบแบบรวดเร็ว (Rapid test)

  10. ลักษณะโรค การตรวจคัดกรอง (Screening test) การตรวจยืนยัน (Confirmatory test) 1. Western Blot (WB)2. Indirect Fluorescent Antibody Assay (IFA) 3. Radioimmunoprecipitation assay (RIPA)

  11. ลักษณะโรค • ระยะที่ 1 ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV infection) • ระยะที่ 2 ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (Asymptotic infection) • ระยะที่ 3 ระยะต่อมน้ำเหลืองโต (Persistent generalized lymphadenopathy, PGL) • ระยะที่ 4 ระยะติดเชื้อมีอาการ (Symptomatic HIV infection)* *แบ่งตาม CDC USA

  12. ลักษณะโรค ระยะที่ 1 ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV infection)ใน 2-3 สัปดาห์หลังการได้รับเชื้อ HIV จะมีอาการคล้ายไข้หวัด ต่อมน้ำเหลืองโต อาการต่าง ๆ เหล่านี้จะหายไปได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์ โดยอาจมีอาการน้อยมากจนผู้ป่วยไม่สังเกต

  13. ลักษณะโรค ระยะที่ 2 ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (Asymptotic infection) ไม่มีอาการ แต่พบเชื้อจากการตรวจเลือด หลังรับเชื้อ 6-8 สัปดาห์ หรือถึง 3 เดือน หลังรับเชื้อและตรวจไม่พบแอนติบอดีเราเรียกว่า Window period

  14. ลักษณะโรค ระยะที่ 3 ระยะต่อมน้ำเหลืองโต (Persistent generalized lymphadenopathy, PGL) ไม่ทราบระยะเวลาแน่ชัด โดยต้องพบต่อมน้ำเหลืองโตตั้งแต่ 2 บริเวณขึ้นไปและมีขนาดตั้งแต่ 1 ซม. นานเกินหนึ่งเดือน

  15. ลักษณะโรค ระยะที่ 4 ระยะติดเชื้อมีอาการ (Symptomatic HIV infection) 1. น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ (ลดเกิน 10% ของน้ำหนักเดิม หรือเกิน 10 กิโลกรัม)2. เป็นไข้เกิน 38 องศาเซลเซียส เรื้อรังเกิน 4 สัปดาห์3. ท้องเสียเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ4. เหงื่อออกตอนกลางคืนโดยไม่ทราบสาเหตุ

  16. ลักษณะโรค ระยะที่ 4 ระยะติดเชื้อมีอาการ (Symptomatic HIV infection) 5. เชื้อราในช่องปาก6. มีอาการทางประสาท หลงลืม7. เป็นโรคติดเชื้อฉวยโอกาสอื่น ๆ8. เป็นโรคเกี่ยวกับปอด9. เป็นมะเร็งส่วนใหญ่ที่พบคือ Kaposi's sarcoma คือเป็นมะเร็งเยื่อบุหลอดเลือด

  17. ลักษณะโรค leukoplakia

  18. ลักษณะโรค Kaposi's sarcoma

  19. เชื้อก่อโรค • สายพันธุ์หลักดั้งเดิมได้แก่เอชไอวี-1 (HIV-1) ซึ่งแพร่ระบาดในแถบ สหรัฐอเมริกา ยุโรป และแอฟริกากลาง • มี 8 Subtype คือ A-F, H และ O • ในประเทศไทยพบว่า Subtype ที่สำคัญคือ E และ B ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และทางเข็มฉีดยาตามลำดับ • สายพันธุ์เอชไอวี-2 (HIV-2) แพร่ระบาดในแถบแอฟริกาตะวันตก

  20. การเกิดโรค ประมาณการจำนวนผู้ป่วยเอดส์ปี 2008

  21. อัตราป่วยและอัตราตายของผู้ป่วยเอดส์ประเทศไทยที่รายงานในระบบเฝ้าระวังสำนักระบาดวิทยา, 2527-2553 รายงานผู้ป่วยเอดส์สูงสะท้อนการติดเชื้อสูงประมาณ ปี 33-35 Source: รง.506/1 สำนักระบาดวิทยา

  22. คาดประมาณการติดเชื้อเอชไอวี 2554ประเทศไทย เฉลี่ยวันละ 27 คน Source: Asian Epidemic Model คาดประมาณไว้เมื่อปี 2005

  23. วิธีการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี ปี 2554 –ภาพการระบาดที่เปลี่ยนไปจากอดีต สามี-ภรรยา สามี-ภรรยา MSM MSM Source: AEM

  24. แหล่งรังโรค • คน • สันนิษฐานกันว่ามีต้นกำเนิดมาจากลิงซิมแปนซี โรคเอดส์ ในลิงเรียกว่า SimianImmunodeficiencyVirus, SIV) มีความคล้ายกับเชื้อHIVต้นตอมาจากทวีปแอฟริกา เพราะบางท้องถิ่นนิยม รับประทานเนื้อลิง

  25. แหล่งรังโรค • สำหรับเชื้อ HIV-2 นั้น มีต้นกำเนิดมาจากลิงซูตที • แมงกาเบย์ (Sooty mangabey)

  26. วิธีการแพร่เชื้อ 1. ทางเพศสัมพันธ์ (Heterosexual) การร่วมเพศกับผู้ป่วยโรคเอดส์ หรือมีเชื้อโรคเอดส์2. ทางเลือด (Blood donor)2.1 ใช้เข็มหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์ โดยเฉพาะชนิดฉีดเข้าเส้น2.2 การรับเลือดหรืออวัยวะต่าง ๆ3. การติดเชื้อจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์สู่ลูกที่อยู่ในครรภ์

  27. โอกาสการติดเชื้อ HIV ใน 10,000 คน • การรับเลือด 9,000 คน • การใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน 67 คน • การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางก้น50 คน • การถูกเข็มตำ 30 คน • การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด 10 คน • การเป็นฝ่ายรุก เพศสัมพันธ์ทางก้น 6.5 คน • การเป็นฝ่ายรุก เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด 5 คน • การเป็นฝ่ายรับ Oral sex (ทำให้ PHA)1 คน

  28. ระยะฟักตัว • ระยะฟักตัวของการติดเชื้อเฉียบพลัน 2-3สัปดาห์ ก็จะติดเชื้อโดยอาจไม่มีอาการแสดง • ระยะฟักตัวของโรคเอดส์เต็มขั้น ระยะเวลามีตั้งแต่ <1-15 ปี ประเทศไทยเฉลี่ย 7-10 ปี • ระยะฟักตัวในเด็กสั้นกว่าผู้ใหญ่ • ในประเทศพัฒนาแล้ว ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิตหลังติดเชื้อ 11 ปี

  29. ระยะติดต่อของโรค • จุดเริ่มต้นของระยะติดต่อไม่สามารถกำหนดได้ชัดเจน • ประมาณได้ว่า เริ่มตั้งแต่มีการติดเชื้อและสามารถแพร่เชื้อได้ตลอดชีวิต

  30. ความไวต่อการรับเชื้อ • พบได้ทุกกลุ่มอายุ พบมากในกลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยง • คนติดเชื้อ HIV • จะเป็น ทั้ง HIV+TB ในแอฟริกาติดเชื้อทั้ง 2 โรค 10-15% ของคนติดเชื้อ • มีอัตราการติดเชื้อและความรุนแรงของ Malaria เพิ่มขึ้น • มีอัตราเป็นเริมที่อวัยวะเพศเพิ่ม

  31. วิธีการป้องกัน • การให้สุขศึกษาในกลุ่มเสี่ยง • การใช้ถุงยางอนามัย ไม่ว่าจะเป็นชนิดสำหรับผู้ชายหรือผู้หญิง เพราะการติดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน • ลดการใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในกลุ่มใช้ยาเสพติด • การให้ยาป้องกันหลังรับเชื้อภายใน 1 ชม.และรับติดต่อกัน 28 วัน

  32. วิธีการป้องกัน • การตรวจเลือดและให้คำปรึกษาในกลุ่มเสี่ยง • การป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก • การตรวจเลือดที่บริจาค • ผู้ปฏิบัติงานทางสาธารณสุขสามารถลดการสัมผัสเชื้อ HIV ได้โดยปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวัง (Precaution) • ไม่ให้ BCG ในเด็กติดเชื้อ

  33. การรายงานโรค • ประเทศส่วนใหญ่ต้องรายงานโรคเอดส์ • บางประเทศรายงานการติดเชื้อ HIV ด้วย • ระดับการรายงาน Class 2 และต้องรักษาความลับผู้ป่วย

  34. การแยกผู้ป่วย ไม่จำเป็น ใช้หลัก UP

  35. การทำลายเชื้อ ใช้หลัก UP – สำหรับเครื่องมือ วัสดุ ปนเปื้อน เลือด สารคัดหลั่ง

  36. การกักกัน • ทำไม่ได้ในทางปฏิบัติ • ผู้ติดเชื้อและคู่ครอง งดบริจาคเลือด อวัยวะ นม

  37. การสอบสวนและค้นหาแหล่งโรคการสอบสวนและค้นหาแหล่งโรค • เน้นคู่ครองให้ป้องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์และไม่ใช้เข็มร่วมกัน • เน้นการรักษาความลับผู้ป่วย

  38. การรักษาเฉพาะ • ให้ยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส – Cotriป้องกัน Pneumocystis Pneumonia และโรคอื่น

  39. (Highly Active Anti-Retroviral Therapy)

  40. โรคเรื้อน (Leprosy)

  41. ลักษณะโรค • ขี้ทูต กุฏฐัง ไทกอ หูหนาตาเร่อ โรคใหญ่ โรคพยาธิเนื้อตาย โรคผิดเนื้อ โรคผิวหนังชา • เป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย • ทำให้เกิดอาการที่ผิวหนัง เส้นประสาทส่วนปลาย เยื่อบุตา กระดูกและอวัยวะภายในร่างกาย • เชื้อโรคเรื้อนทำลายเส้นประสาทส่วนปลายทำให้เกิดความพิการของมือ เท้า และใบหน้า หากไม่รักษาจะทำให้เกิดความพิการได้

  42. ลักษณะโรค • ภูมิต้านทานของคนไข้เป็นส่วนสำคัญที่สุดในการเกิดโรคซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันชนิดพึ่งเซลล์ (Cell Medical Immunity, CMI) • ผู้ที่รับเชื้อ Mycobacterium Lepraeมี CMI ที่สามารถทำลายและยับยั้งการแพร่กระจายของเชื้อ Lepraeได้ผู้นั้นก็จะไม่เกิดอาการของโรคเรื้อน • ผู้ที่มีโอกาสเป็นโรคเรื้อนก็คือ ผู้ที่มี CMI ต่อM.Lepraeที่ผิดปกติ

  43. ลักษณะโรค ระยะของโรคเรื้อนตามความสัมพันธ์กับCMI 1. Tuberculoid (TT)จะเกิดในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานสูง2. Borderline (B) จะเกิดในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานอยู่กึ่งกลาง ระหว่างTuberculoid (TT) และ Lepromatous (LL) ซึ่งระยะนี้แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ ได้อีก 3 ชนิด คือ2.1 Borderline tuberculoid (BT)2.2 Borderline borderline (BB) 2.3 Borderline lepromatous (BL)3. Lepromatous (LL) จะเกิดในผู้ป่วยที่ไม่มีภูมิต้านทาน4. Indeterminate (I) พบในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานไม่แน่นอนสามารถหายเองได้หรือเปลี่ยนไปเป็นรูปแบบอื่นได้

  44. ลักษณะโรค 1. Tuberculoid leprosy (TT) ภูมิต้านทาน CMI สูง เชื้อมีน้อยจนตรวจไม่พบและไม่พบแอนติบอดี มีโอกาสหายได้เอง 50% ขอบเขตชัดเจน ผิวผื่นแห้ง ชา ชัดเจน ขนร่วง ผื่นมักไม่เป็นตามผิวหนังที่มีอุณหภูมิสูงกว่า เช่น หนังศีรษะ รักแร้ ฝ่ามือฝ่าเท้า อวัยวะเพศชาย เส้นประสาทบริเวณใกล้เคียงอาจโต 1 เส้น ผลการกรีดตรวจเชื้อที่ผิวหนัง (Slit Skin Smear, SSS) มักเป็นลบ

  45. ลักษณะโรค 2.1 Borderline tuberculoid (BT) BT มีภูมิต้านทานค่อนข้างสูง โรคไม่หายเอง ภูมิต้านทานมีการเปลี่ยนแปลงได้upgrade เป็น TT หรือ downgrade เป็น BLรอยโรคมักเป็น ขอบผื่นมักเอียงลาดไปด้านนอกผิวผื่นแห้งและชาไม่มากเท่า TT ผื่นอาจมีขนาดใหญ่มากกว่า10 ซม. อาจมีผื่นเดียวหรือหลายผื่นแต่อยู่ใกล้เคียงกันเส้นประสาทบริเวณใกล้เคียงผื่นอาจโต 1 - 2 เส้นผล SSS ผู้ป่วยครึ่งหนึ่งมีผลเป็นลบ อีกครึ่งหนึ่งเป็นบวกต่ำ ๆ 1+, 2+

  46. ลักษณะโรค 2.2 Borderline borderline (BB) BB มีภูมิต้านทานอยู่ตรงกลาง spectrum ไม่คงที่เปลี่ยนแปลงเป็นชนิดอื่นได้ง่าย จึงมีโอกาสพบโรคเรื้อนชนิดนี้ได้น้อย มักมีผื่นจำนวนมากกระจายทั้งตัว มีอาการชาเล็กน้อย เส้นประสาทโตหลายเส้น ผล SSS มักให้ผลบวก 2+, 3+

  47. ลักษณะโรค 2.3 Borderline lepromatous (BL) BL มีภูมิต้านทานค่อนข้างต่ำ ไม่เพียงพอที่จะควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ แต่มากพอที่จะทำให้เกิด acute inflammation โดยเฉพาะในเส้นประสาท BL มีรอยโรคผิวหนังเหมือน BB แต่มีจำนวนมาก ผื่นมักแดงเป็นมัน ไม่ชาเส้นประสาทโตและสูญเสียหน้าที่หลายเส้น ผล SSS มักให้ผลบวก 3+, 4+

More Related