1 / 43

การเฝ้าระวัง กับ การพัฒนานโยบาย : กรณีศึกษานโยบายการควบคุมปัญหาสุรา

การเฝ้าระวัง กับ การพัฒนานโยบาย : กรณีศึกษานโยบายการควบคุมปัญหาสุรา. น.พ.บัณฑิต ศรไพศาล ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา 12 กุมภาพันธุ์ 2551. ระบบาดวิทยา กับ นโยบาย. ทำให้เห็นความสำคัญของปัญหา ทำให้เห็นกลุ่มเป้าหมายที่จะแก้ไข ทำให้เข้าใจสาเหตุกลไก ทำให้เห็นแนวทางการแก้ไขปัญหา

rowa
Télécharger la présentation

การเฝ้าระวัง กับ การพัฒนานโยบาย : กรณีศึกษานโยบายการควบคุมปัญหาสุรา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเฝ้าระวัง กับ การพัฒนานโยบาย: กรณีศึกษานโยบายการควบคุมปัญหาสุรา น.พ.บัณฑิต ศรไพศาล ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา 12 กุมภาพันธุ์ 2551

  2. ระบบาดวิทยา กับ นโยบาย • ทำให้เห็นความสำคัญของปัญหา • ทำให้เห็นกลุ่มเป้าหมายที่จะแก้ไข • ทำให้เข้าใจสาเหตุกลไก • ทำให้เห็นแนวทางการแก้ไขปัญหา • ทำให้ทราบประสิทธิผลการดำเนินการแก้ไขปัญหา

  3. 1.ทำให้เห็นความสำคัญของปัญหา1.ทำให้เห็นความสำคัญของปัญหา สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  4. Alcohol consumption by developmental status in 1961-1999

  5. 18 16 14 12 SEARO WPRO 10 EURO litres ofpurealcohol EMRO 8 AMRO AFRO 6 4 2 0 1961 1963 1965 1967 1969 1971 1973 1975 1977 1979 1981 1983 1985 1987 1989 1991 1993 1995 1997 1999 Year Recorded alcohol consumption in WHO regions in 1961-1999 (population weighted means)

  6. Adult per capita consumption in WHO South-East Asian and Western Pacific Regions

  7. 33 times in 43 years Thailand Alc. Consumption per Capita Year 1961 – 2004 (พ.ศ. 2404 – 2547) 0.26 lpa/capita 8.47 lpa/capita in 1961 in 2004

  8. Thailand World Rank and Amount of Consumption

  9. พฤติกรรมการดื่มฯของคนไทย“ดื่มประจำมากขึ้น ดื่มนานๆครั้งลดลง”

  10. +10% +24% +20% -19% พฤติกรรมการดื่มประจำของคนไทยดื่ม “ดื่มถี่ขึ้นด้วย”ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน และ ทุกสัปดาห์มากขึ้น ดื่มทุกเดือนลดลง

  11. 1.ทำให้เห็นความสำคัญของปัญหา1.ทำให้เห็นความสำคัญของปัญหา สถานการณ์ผลกระทบ จากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  12. National Police Office

  13. Death rate from Liver diseases and Cirrhosisof Thailand (Death rate per 100,000 population) during 1977 - 2003 Ministry of Public Health

  14. Domestic violence due to alcohol consumption Percentage of wife victims * ABAC poll : Domestic violence survey, July 2004

  15. Percentage of Burden of Risk Factors, study in 1999 ปี 2542 Unsafe Sex 8.1% 2004 5.8% Tobacco Risk factors Ministry of Public Health, 2004.

  16. Economic cost Social and Economic cost 190,000 baht annually Excise tax 70,000 baht annually

  17. 2. ทำให้เห็นกลุ่มเป้าหมายที่จะแก้ไข

  18. ระดับโรงพยาบาลสวนปรุงระดับโรงพยาบาลสวนปรุง แผนภูมิแสดงจำนวนผู้ป่วยในรายใหม่ที่อายุน้อยระว่างปี พ.ศ. 2543-2547 จำนวนผู้ป่วยสุราในรายใหม่ที่อายุน้อยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น กรม สจ.

  19. 3. ทำให้เข้าใจสาเหตุกลไก

  20. Number of drunk driving traffic accidents National Police Office

  21. Number of deaths from traffic accidents New year Songkran

  22. 525% Effect of AFTA: Increase Import from ASEANSources of imported alcoholic beverages of Thailand by regions (Million Bahts) *Source of data: The data from the Information and Technology Center with cooperated from the Custom Department, Thailand CAS

  23. แผนภูมิ 3 ร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ดื่มสุรา จำแนกตามประเภทสุราหรือ เครื่องดื่มมึนเมาที่ดื่มมากที่สุด และภาค พ.ศ. 2547 ร้อยละ 100 2.6 6.2 8.2 8.4 11.0 25.1 80 เหล้าหมัก 29.3 39.5 37.5 33.0 เบียร์ 51.1 60 0.6 25.2 7.5 2.7 1.4 ไวน์ 2.0 7.5 1.6 19.7 เหล้ากลั่น 40 30.9 0.5 18.6 46.3 เหล้าขาว เชี่ยงชุน 16.9 52.3 20 ยาดองเหล้า + อื่น ๆ 32.3 26.5 20.9 19.0 7.2 ภาค 0 4.1 2.6 3.4 3.0 2.1 0.8 ใต้ ตะวันออก- เฉียงเหนือ ทั่วราชฯ กทม. กลาง เหนือ ที่มา : การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2547

  24. ชนิดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ดื่มก่อนเกิดอุบัติเหตุชนิดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ดื่มก่อนเกิดอุบัติเหตุ เบียร์ เหล้า สาโท ไวน์ 300 200 จำนวน 100 0 11 12 13 14 15 16 17 18 วันที่

  25. Supply

  26. Percentage of alcoholic bevarage production and imported in 2005 White spirit Imported whisky Beer Excise department, Ministry of finance

  27. Trend in alcoholic beverage production and importation during 1994 - 2005 Million liters Excise department, Ministry of finance

  28. Trend of Tax from alcoholic beverage production and importation during 1994 - 2005 2100 million USD 74,000 ล้านบาท 8,587 ล้านบาท 65,442 ล้านบาท 11,412 ล้านบาท 8, 620 ล้านบาท

  29. Evolution of Alcohol Tax Rate(Specific)

  30. อิทธิพลของการโฆษณาต่อความอยากลองดื่มฯอิทธิพลของการโฆษณาต่อความอยากลองดื่มฯ * ในกลุ่มเยาวชนที่ไม่เคยดื่มและจำโฆษณาไม่ได้ มีความอยากลองอยู่แล้ว 7% * ในกลุ่มเยาวชนที่ไม่เคยดื่มแต่จำโฆษณาได้ มีความอยากลองเพิ่มขึ้นเป็น 29% คิดเป็น 4 เท่า * ในกลุ่มเยาวชนที่เคยดื่มและจำโฆษณาได้ มีความอยากลองเพิ่มขึ้นเป็น 57% คิดเป็น 8 เท่า

  31. การโฆษณาทำให้เกิดความจงรักภักดีการโฆษณาทำให้เกิดความจงรักภักดี ผลการสำรวจประชาชนอายุ 13 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล 1,521 ตัวอย่างในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006,6 – 7 กรกฎาคม 2549

  32. เปิดเสรีการผลิตสุราในไทยเปิดเสรีการผลิตสุราในไทย Partial Ad Ban งบโฆษณาของธุรกิจสุรา ทุกสื่อ ปี 42 - 47 ที่มา : AC Neilson

  33. วงการธุรกิจสุราสามารถควบคุมกันเองได้?มาตรการควบคุมการโฆษณาที่มีอยู่เพียงพอแล้ว?วงการธุรกิจสุราสามารถควบคุมกันเองได้?มาตรการควบคุมการโฆษณาที่มีอยู่เพียงพอแล้ว? เวลา 16.00 – 22.00 น. 237 193 193 174 165 157 149 151 98

  34. Supply • Marketing strategies (Product, Price, Place, Promotion) • Aggressive advertisement: Advertisement budget more than2,300 million baths per year (66 million USD), aim at youth, breaking the rule • Easyaccess: can buy within7.5 minutes • Cheap price: Tax of white spirit and beer lower than the others

  35. โฆษณาแฝงเป็นเครื่องมือที่ใช่ในช่วงเวลาห้ามโฆษณาโฆษณาแฝงเป็นเครื่องมือที่ใช่ในช่วงเวลาห้ามโฆษณา = ช่วงเวลาห้ามโฆษณา ต้องห้ามการโฆษณาแฝงด้วย

  36. โฆษณาทางตรงยิงทันทีที่อนุญาตโฆษณาทางตรงยิงทันทีที่อนุญาต 93% ยิงในสามชั่วโมงแรก (22 – 01 น.) = การโฆษณาทางตรงเป็นที่นิยมของธุรกิจ = เวลาห้ามโฆษณามีผลดี

  37. กราฟแสดงร้อยละของความถี่ในการโฆษณากราฟแสดงร้อยละของความถี่ในการโฆษณา ทางตรงเทียบกับโฆษณาทางแฝง แยกตามรายการ โทรทัศน์และเวลาที่โฆษณา 91 . 7 % 100 . % 80 . % Da 60 . % ร้อยละของการโฆษณาทางตรงหรือทางอ้อม 29 . 5 % 27 . 8 % 24 . 2 % 40 . % 18 . 5 % Ia 6 . 7 % 20 . % 0 . 9 % 0 . 6 % 0 . % - น. น. 5 - 22 น. 5 - 22 น. . 22 5 22 - 5 กีฬา ไม่ใช่กีฬา ไม่ใช่กีฬา กีฬา ประเภทรายการโทรทัศน์ แยกตามเวลา การเฝ้าระวังการโฆษณา Alc.ทางโทรทัศน์ ทำให้พบการกระทำกฎระเบียบ

  38. 1 ใน 4 ของงบโฆษณาอยู่ที่เวลา 24 – 05 น. • 33 ประเทศทั่วโลก ห้ามโฆษณาทางโทรทัศน์โดยสิ้นเชิง, ขณะที่ 18 ประเทศทั่วโลก ห้ามโฆษณาทางป้ายกลางแจ้งโดยสิ้นเชิง

  39. การลดราคา เพิ่มการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  40. 5.ทำให้ทราบประสิทธิผลการดำเนินงาน5.ทำให้ทราบประสิทธิผลการดำเนินงาน กำลังเปิดรับโครงการ

  41. ประกาศเชิญชวนชาวระบาทวิทยาที่เคารพประกาศเชิญชวนชาวระบาทวิทยาที่เคารพ • ศึกษา • ติดตามประเมินผลนโยบายและมาตรการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • ติดตามผลกระทบ เช่น อุบัติเหตุ ความรุนแรง ที่มาในระบบสาธารณสุข • ศึกษาเหตุปัจจัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ ความรุนแรง ปัญหาสุขภาพ ที่มาในระบบสาธารณสุข • ศึกษาประเภทเครื่องดื่มฯ และ บริบทการดื่ม (ซึ้อที่ไหน ดื่มที่ไหน ดื่มกับใคร ดื่มอย่างไร) • ศึกษาการเข้าถึงเครื่องดื่มและการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย • ศึกษาเส้นทางสู่การดื่มของนักดื่มหน้าใหม่, เส้นทางสู่การติดสุรา ท่านจะทำให้ความรู้เพื่อการแก้ไขปัญหามากขึ้นอย่างมาก

More Related