1 / 86

Web Development

Web Development. MIDTERM 50% Week1 Introduction to Web development HTML CSS Basic PHP Week2-3 Basic database Design HTML form and Javascript PHP & Database Week4 JQuery AJAX. Web Development. FINAL 50% Week5-6 Web Services XML Web Service Client Web Service Server

ruth-haley
Télécharger la présentation

Web Development

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Web Development MIDTERM 50% • Week1 • Introduction to Web development • HTML • CSS • Basic PHP • Week2-3 • Basic database Design • HTML form and Javascript • PHP & Database • Week4 • JQuery • AJAX

  2. Web Development FINAL 50% • Week5-6 • Web Services • XML • Web Service Client • Web Service Server • Web2.0 Mashup • Week7 • PHP template with Smarty

  3. เกณฑ์การประเมิน

  4. MIDTERM 50% • Quiz + Assignment 15% • Lab exams 15 % • Lecture exams 20% TOTAL 50%

  5. Basic php อ.วิวัฒน์ ศรีภูมิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  6. กลไกการทำงานของเว็บเพจและ ไฟล์ PHP • รูปแบบทั่วไป กลไกการทำงานของเว็บเพจทั่ว ๆ ไปที่เป็นภาษา HTML นั้นเมื่อเราเปิดเว็บบราวเซอร์โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ของเราก็จะร้องขอไปยังเว็บเซิร์ฟเวอร์ เว็บเซิร์ฟเวอร์ก็จะส่งไฟล์เว็บเพจHTML กลับมา แสดงผลบนหน้าจอเว็บเซิร์ฟเวอร์ของเรา 1. ผู้ใช้ร้องขอไฟล์ htmlจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ 2. เว็บเซิร์ฟเวอร์ส่งไฟล์ html กลับมา

  7. กลไกการทำงานของเว็บเพจและ ไฟล์ PHP • รูปแบบที่ใช้ PHPเมื่อเราเปิดเว็บบราวเซอร์ โปรแกรมเว็บบราวเซอร์จะร้องขอไฟล์ PHPไปยังเว็บเซิร์ฟเวอร์ยังเว็บเซิร์ฟเวอร์ ก็จะเรียก PHP engineขึ้นมาแปลไฟล์ PHPและติดต่อกับฐานข้อมูล แล้วส่งผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลและประมวลผลเป็น ภาษา HTMLทั้งหมดกลับไปยังเว็บบราวเซอร์ให้ผู้ใช้ 2. เว็บเซิร์ฟเวอร์ประมวลผลไฟล์ phpและอาจจะเรียกใช้ Database server 1. ผู้ใช้ร้องขอไฟล์ phpจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ scripts PHP 3. เว็บเซิร์ฟเวอร์ส่งไฟล์ html กลับมา

  8. ความสามารถของ PHP • ความสามารถพื้นฐาน • สร้างฟอร์มโต้ตอบ หรือรับ-ส่งข้อมูลกับผู้ใช้ได้ • แทรกโค้ด phpเข้าไประหว่างโค้ดภาษา htmlได้ทันที • มีฟังก์ชันสนับสนุนการทำงานต่าง ๆ เช่นเดียวกับภาษาขั้นสูงโดยทั่ว ๆ ไป • ความสามารถในการติดต่อกับฐานข้อมูล • สามารถรองรับการใช้งานฐานข้อมูลได้มากมาย เช่น Access, dBase, ExpressInformix, mySQL, Oracle, SQLServerเป็นต้น ในวิชานี้เราจะกล่าวถึงการใช้งาน phpกับ ฐานข้อมูล mySQLเนื่องจากเป็นฐานข้อมูลที่ใช้งานได้ง่าย และได้รับความนิยมใช้งานร่วมกับ phpมากที่สุด • ความสามารถขั้นสูง • สนับสนุนการติดต่อกับโปรโตคอลได้หลากหลาย • สามารถทำงานกับฮาร์ดแวร์ได้ทุกระดับ

  9. ลักษณะเด่นของ PHP • ใช้ได้ฟรี • PHPเป็นโปรแกรมรันฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (server side script) ดังนั้นขีดความสามารถไม่จำกัด • PHPรันบนระบบปฏิบัติการ UNIX,Linux,Windowsได้หมด • เรียนรู้ง่าย เนื่องจาก PHPฝั่งเข้าไปใน HTMLและใช้โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาง่ายๆ • เร็วและมีประสิทธิภาพ • ใช้ร่วมกับ XMLได้ทันที • ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้ • ใช้กับข้อมูลตัวอักษรได้อย่างมีประสิทธิภาพใช้กับโครงสร้างข้อมูลใช้ได้แบบ Scalar,Array,Associative array • ใช้กับการประมวลผลภาพได้

  10. องค์ประกอบของการเขียนสคริปต์ PHP • Server • Client • Web Server Software • Text Editor Software • PHP Script Language • Database Server Software • Database Manager Software

  11. AppServ • AppServเป็นโปรแกรมสำหรับจำลองให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปเป็น เซิร์ฟเวอร์ • AppServประกอบด้วย • PHP Script Language • Apache Web Server • MySQL Database • phpMyAdmin Database Manager สามารถดาวน์โหลดชุดโปรแกรม AppServได้จาก www.appservnetwork.com

  12. ทดสอบการทำงานสคริปต์ PHP • ให้นิสิตลองพิมพ์คำสั่งดังต่อไปนี้ ใน Text Editor ตัวใดก็ได้ เช่นNotepad หรือ Edit plus • บันทึกไฟล์เป็นชื่ออะไรก็ได้ และนามสกุลเป็น .phpเช่น test.phpเป็นต้น ไว้ใน \Appserv\www • เปิดโปรแกรมบราวเซอร์ แล้วพิมพ์ “http://localhost/test.php” ผลลัพธ์ที่ได้

  13. Variable and operator อ.วิวัฒน์ ศรีภูมิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  14. การใช้งานข้อมูล ตัวแปร และ ตัวดำเนินการ • เราอาจแบ่งชนิดข้อมูลและตัวแปรได้ 3 กลุ่มหลัก ๆ • ชนิดข้อมูลและตัวแปรแบบค่าเดียว เป็นตัวแปรที่เก็บข้อมูลได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น ซึ่งประกอบด้วย • ข้อมูลชนิดกลุ่มอักขระ (String) • ข้อมูลชนิดตรรกะ (Boolean) • ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (Integer) • ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Floating-Point Number) • ชนิดของข้อมูลและตัวแปรแบบหลายค่า เป็นข้อมูลที่เก็บได้เป็นชุด ๆ โดยในชุดเดียวกันอาจจะเป็นชนิดเดียวกันทั้งหมด หรือต่างชนิดกันก็ได้ • ชนิดของข้อมูลและตัวแปรแบบพิเศษ เป็นตัวแปรที่แตกต่างจากชนิดอื่น การใช้งานอาจต้องใช้กับฟังก์ชันขั้นสูง หรืออาจเป็นตัวแปรที่ไม่มีค่า

  15. การประกาศตัวแปร • ก่อนที่จะใช้งานตัวแปรเราต้องประกาศตัวแปร (Variable Declaration) ให้ PHP engineทราบเสียก่อนโดยการประกาศตัวแปรในภาษา PHPนั้นจะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ (Dollar sign)ตามด้วยชื่อของตัวแปร (ถ้าต้องการกำหนดค่าให้กับตัวแปรทันทีที่ประกาศ ก็ให้ต่อด้วยเครื่องหมายเท่ากับและค่าของตัวแปร)

  16. การประกาศตัวแปร

  17. การประกาศตัวแปร

  18. กฎการตั้งชื่อตัวแปร • ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือ _ (Underscore) เท่านั้น (ใช้ตัวอักษรได้ทั้งไทย และอังกฤษ) • ตั้งแต่ตัวที่สองเป็นต้นไป ต้องเป็นเหมือนข้อ 1และสามารถมีตัวเลข (0-9) ได้ • ห้ามมีสัญลักษณ์พิเศษในชื่อตัวแปร **การใช้อักษรพิมพ์ใหญ่ กับอักษรพิมพ์เล็ก แม้จะสื่อถึงคำเดียวกันแต่จะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัว ทางเทคนิคเรียกว่า “Case-Sensitive”

  19. ตรวจสอบการกำหนดค่าตัวแปรด้วยฟังก์ชัน isset • หากฟังก์ชัน issetคืนค่าเป็น • trueแสดงว่ามีการกำหนดค่าให้กับตัวแปรแล้ว • falseแสดงว่ายังไม่มีการกำหนดค่าให้กับตัวแปร

  20. ตรวจสอบการกำหนดค่าตัวแปรด้วยฟังก์ชัน isset

  21. การยกเลิกหรือทำลายตัวแปรด้วยฟังก์ชัน unset • เนื่องจากทรัพยากรของระบบมีจำกัด แม้ว่าจะทำงานบนเซิร์ฟเวอร์ที่มีความสามารถสูง แต่ถ้ามีผู้ใช้งานจำนวนมาก ๆ ทรัพยากรของระบบก็จะลดน้อยลง ส่งผลให้การทำงานโดยรวมช้าลง • เมื่อเราไม่ใช้ตัวแปรใด ๆ แล้วควรจะทำลายตัวแปรนั้น แล้วคืนทรัพยากรให้กับระบบ ด้วยฟังก์ชัน unset

  22. การยกเลิกหรือทำลายตัวแปรด้วยฟังก์ชัน unset

  23. การตรวจสอบชนิดตัวแปรด้วยฟังก์ชัน gettype • การใช้งานตัวแปรใน PHP นั้นส่วนใหญ่ไม่ได้ระบุชนิดของตัวแปรเอาไว้ บางครั้งเราควรตรวจสอบชนิดของตัวแปรก่อนเพื่อที่จะนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

  24. การตรวจสอบชนิดตัวแปรด้วยฟังก์ชัน gettype

  25. ตัวดำเนินการ (Operator) • ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) • ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical Operator) • ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Relational Operator) • ตัวดำเนินการระดับบิต (Bitwise Operator) • ตัวดำเนินการเชิงข้อความ (String Operator)

  26. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

  27. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

  28. ตัวดำเนินการทางตรรกะ ** ตัวแปร $x และ $y ในตัวอย่างต้องเป็นชนิด boolean

  29. ตัวดำเนินการทางตรรกะ

  30. ตัวดำเนินการเปรียบเทียบตัวดำเนินการเปรียบเทียบ ** ผลลัพธ์ที่ได้จากตัวดำเนินการเปรียบเทียบ จะเป็นค่าตรรกะ คือ จริง หรือ เท็จ

  31. ตัวดำเนินการเปรียบเทียบตัวดำเนินการเปรียบเทียบ

  32. ตัวดำเนินการระดับบิต

  33. ตัวดำเนินการระดับบิต

  34. ตัวดำเนินการเชิงข้อความตัวดำเนินการเชิงข้อความ

  35. การใช้งานค่าคงที่ • ถ้าเราต้องการกำหนดค่าโดยที่เป็นค่าเดิมไปตลอดการทำงานของโปรแกรมโดยไม่อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงค่าได้ เรียกว่า ค่าคงที่(Constant)

  36. Control statement อ.วิวัฒน์ ศรีภูมิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  37. การใช้คำสั่ง if คำสั่ง ifเป็นคำสั่งเพื่อตรวจสอบเงื่อนไข โดยถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะเข้าไปทำในบล็อกคำสั่งหลัง if

  38. ตัวอย่างการใช้คำสั่ง if

  39. การใช้คำสั่ง switch..case • ในกรณีที่ต้องตรวจสอบหลายเงื่อนไขและไม่สะดวกในการใช้คำสั่ง if • variable คือ ตัวแปรที่ต้องการตรวจสอบค่า • ถ้าค่าในตัวแปรตรงกับค่าใดค่าหนึ่งหลัง caseก็จะทำ statementใน caseนั้น ๆ • breakคือให้ออกจากบล็อก switch..case • statementที่อยู่ใน defaultจะทำเมื่อค่าในvariableไม่ตรงกับค่าใด ๆ ในแต่ละ case เลย

  40. ตัวอย่างการใช้คำสั่ง switch..case

  41. การใช้คำสั่ง for • คำสั่ง forเป็นการทำงานแบบซ้ำ ๆ ตามเงื่อนไขที่กำหนด หรือที่เราเรียกว่า “การวนลูป (Loop)” นั่นเอง การทำงานเป็นดังนี้ 1. เริ่มต้น จะกำหนดค่าให้กับตัวแปรตามที่เรากำหนด 2. ตรวจสอบว่าเงื่อนไขจริงหรือไม่ ถ้าจริง ก็จะเข้าไปทำงานในบล็อกคำสั่ง forแต่ถ้าเท็จก็จะไม่เข้าไปทำและหยุดการทำงานทันที 3. หลังจากทำคำสั่งในบล็อกเสร็จ ก็จะเปลี่ยนค่าตัวแปรตามที่เรากำหนด 4. กลับไปทำข้อ 2

  42. ตัวอย่างการใช้คำสั่ง for

  43. ตัวอย่างการใช้คำสั่ง for

  44. การใช้คำสั่ง while • ในการใช้ลูปแบบ forเราจำเป็นต้องทราบค่าเริ่มต้น และค่าสุดท้ายของลูป แต่บางกรณีเราอาจไม่ทราบค่าที่แน่นอนของค่าเริ่มต้น หรือค่าสุดท้ายของการวนลูป แต่อาจทราบเพียงเงื่อนไขบางอย่างเท่านั้น ** อย่าลืมเปลี่ยนค่าตัวแปรที่ใช้สำหรับตรวจสอบเงื่อนไขในบล็อกของ whileไม่เช่นนั้นอาจจะทำให้เกิด infinity loop

  45. การใช้คำสั่ง do..while • เป็นการตรวจสอบเงื่อนไขเช่นเดียวกับลูปแบบ whileแต่ do..whileจะตรวจสอบเงื่อนไขท้ายลูป นั่นคือ • whileจะตรวจสอบเงื่อนไขก่อนเข้าไปทำงานในลูป • do..whileจะเข้าไปทำงานในลูปก่อน แล้วค่อยตรวจสอบเงื่อนไขทีหลัง ** เช่นเดียวกับลูป whileอย่าลืมปรับค่าตัวแปรที่ใช้สำหรับตรวจสอบเงื่อนไข ไม่เช่นนั้นอาจจะเกิด infinity loop

  46. ตัวอย่างการใช้คำสั่ง while

  47. การใช้คำสั่ง breakและ continue • คำสั่ง breakเป็นคำสั่งให้ ออกจากลูป โดยไม่วนลูปที่เหลือต่อไปอีก • คำสั่ง continueเป็นคำสั่งให้เริ่มลูปรอบใหม่ต่อไป โดยข้ามคำสั่งที่อยู่หลัง continueทั้งหมด

  48. Function and array อ.วิวัฒน์ ศรีภูมิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  49. Function • ฟังก์ชันเป็นชุดคำสั่งการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การคำนวณหาผลลัพธ์บางอย่าง ซึ่งอาจจะมีการใช้งานอยู่บ่อย ๆ เราจึงแยกชุดการทำงานเหล่านี้ออกมาและตั้งชื่อไว้ เมื่อต้องการใช้งานก็สามารถเรียกชื่อฟังก์ชันนั้นได้เลย โดยไม่ต้องเขียนชุดคำสั่งเหล่านั้นขึ้นมาใหม่ • ฟังก์ชัน มีทั้งแบบที่ PHPสร้างไว้ให้เราใช้ เรียกว่า Predefined Functions และส่วนที่เราสร้างไว้ใช้งานเองเรียกว่า User defined Function

  50. การสร้างฟังก์ชัน • functionNameเราตั้งชื่ออะไรก็ได้ (ใช้วิธีการตั้งชื่อเหมือนกับตัวแปร) • parameterคือ อินพุตที่ส่งเข้าไปในฟังก์ชัน ซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ • return คือ เอาท์พุตที่ถูกส่งออกมาจากฟังก์ชัน ซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้

More Related