1 / 55

อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน. ๑๐ ส.ค. ๒๕๔๗. พ.ร.บ.ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2522 รมต.มท. / มาตรา 5 และมาตรา 27 “ กำหนดข้อบังคับและระเบียบ ” ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.๒๕๔๗. หมวด 1 สมาชิก อปพร. และการฝึกอบรม.

Télécharger la présentation

อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

  2. ๑๐ ส.ค. ๒๕๔๗ พ.ร.บ.ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2522 รมต.มท. / มาตรา 5 และมาตรา 27 “กำหนดข้อบังคับและระเบียบ” ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.๒๕๔๗

  3. หมวด 1 สมาชิก อปพร. และการฝึกอบรม • ให้ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร • จัดให้มีการฝึกอบรม อปพร. ตามหลักสูตรที่กำหนดไว้

  4. คุณสมบัติ อปพร. • มีสัญชาติไทย • มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ • มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในเขตศูนย์ อปพร. นั้น • เลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข • ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร อปพร. • ไม่มีร่างกายทุพลภาพ / วิกลจริต / จิตฟั่นเฟือน / ติดยาเสพติด • ไม่เป็นพระภิกษุ สามเณร นักพรต นักบวช • ไม่เป็นผู้มีชื่อเสียงในทางทุจริต / เสื่อมเสียศีลธรรม / เป็นภัยต่อสังคม

  5. การพ้นสภาพ 1) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ 6 2) ตาย 3) ลาออก 4) ผอ.ศูนย์ อปพร. สั่งให้พ้นจากสมาชิกภาพ เพราะกระทำผิดวินัย หรือประพฤติตนไม่เหมาะสม

  6. การฝึกอบรม การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย อปพร. การแจ้งเตือนภัย การรายงานข่าว การบริหารจัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน การป้องกันและแก้ไขปัญหาวาตภัย/อุทกภัย/โคลนถล่ม การป้องกันและระงับอัคคีภัย / เทคนิคการดับเพลิงเบื้องต้น อุตุนิยมวิทยากับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารเคมีและวัตถุอันตราย

  7. การฝึกอบรม ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนน การป้องกันแก้ไขปัญหาการก่อวินาศกรรม/ความไม่สงบเรียบร้อย การช่วยเหลือและสงเคราะห์ผู้ประสบภัย การปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย การกู้ภัยเบื้องต้น ภารกิจและอุดมการณ์ ปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพล

  8. การจัดทำทะเบียน / ประวัติ * นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ผอ.เขต ใน กทม. นายกเมืองพัทยา จัดทำทะเบียนและประวัติของสมาชิก อปพร. และแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เป็นปัจจุบันเสมอ

  9. หมวด 2 คณะกรรมการอำนวยการศูนย์ อปพร

  10. คณะกรรมการศูนย์ อปพร. ข้อ 11 คณะกรรมการอำนวยการศูนย์ อปพร.กลาง รมต.มท. / รมต.ช่วยฯ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน รอง ป.มท.หน.กลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัยฯ กรรมการ ปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการ อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิอื่น ไม่เกิน 8 คน กรรมการ (4 ปี / ป.แต่งตั้ง) อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรรมการและเลขานุการ ผอ.สน.ส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย ปภ. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

  11. คณะกรรมการศูนย์ อปพร. ข้อ 12 คณะกรรมการอำนวยการศูนย์ อปพร.กลาง มีอำนาจหน้าที่ กำหนดนโยบายและแนวทางการบริหารกิจการ อปพร.ทั่วราชอาณาจักร เสนอแนวทางมาตรการเกี่ยวกับกิจการ อปพร.ให้ศูนย์ อปพร.ถือปฏิบัติ กำกับดูแล และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ อปพร.ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

  12. คณะกรรมการศูนย์ อปพร. ข้อ 17 คณะกรรมการอำนวยการศูนย์ อปพร.จังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน รองผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นรองประธาน หน.ส่วนราชการระดับจังหวัดที่เกี่ยวข้องหรือผู้แทน กรรมการ ผู้แทนศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตพื้นที่ กรรมการ ผู้แทน อปถ.ในเขตจังหวัด ไม่เกิน 3 คน กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิอื่น ไม่เกิน 3 คน กรรมการ หน.สนง.ปภ.จังหวัด กรรมการและเลขานุการ

  13. คณะกรรมการศูนย์ อปพร. ข้อ 18 คณะกรรมการอำนวยการศูนย์ อปพร.จังหวัด มีอำนาจหน้าที่ กำหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการดำเนินงานกิจการ อปพร. ให้การสนับสนุนส่งเสริม กำกับดูแลการดำเนินงานของศูนย์ อปพร. กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการดำเนินงานที่เกี่ยวกับกิจการ อปพร.ที่ไม่ขัดแย้งกับศูนย์ อปพร.กลาง กำหนด

  14. หมวด 3 การจัดหน่วย การปกครองบังคับบัญชา

  15. ผอ.ปพร.แห่งราชอาณาจักร เป็น ผู้บัญชาการศูนย์ รอง ผอ.ปพร.แห่งราชอาณาจักร เป็น รอง ผู้บัญชาการศูนย์ ศูนย์ อปพร.กลาง ปกครองบังคับบัญชา / กำกับดูแล ผอ.ศูนย์ อปพร. จนท.ประจำศูนย์ อปพร. และสมาชิก อปพร. ทั่วราชอาณาจักร อ.ปภ. เป็นผู้อำนวยการศูนย์ กรม ปภ.เป็นศูนย์ อปพร.กลาง ปกครองบังคับบัญชา / กำกับดูแลสมาชิก อปพร.ทั่วราชอาณาจักร จนท. ปภ. เป็น เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์

  16. ศูนย์ ปภ. กรม ปภ. เป็น ศูนย์ อปพร.เขต ผอ.ศูนย์ ปภ. กรม ปภ. เป็น ผอ.ศูนย์ อปพร.เขต จนท. ศูนย์ ปภ. กรม ปภ.เป็น เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ศูนย์ อปพร.เขต สนับสนุนการดำเนินกิจการ อปพร.ภายในเขตท้องที่ และสนับสนุนศูนย์ อปพร.ข้างเคียง ในการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

  17. ผอ.ปพร.จังหวัด เป็น ผอ.ศูนย์ อปพร. จังหวัด สนง. ปภ.จังหวัด เป็น ศูนย์ อปพร. จังหวัด จนท. สนง.ปภ.จังหวัด เป็น เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ศูนย์ อปพร.จังหวัด

  18. ผอ.ปพร.อำเภอ เป็น ผอ.ศูนย์ อปพร. อำเภอ ที่ทำการ ปค.อำเภอ เป็น ศูนย์ อปพร. อำเภอ จนท.ของที่ทำการปกครองอำเภอ เป็น เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ศูนย์ อปพร.อำเภอ

  19. ป.หน.กิ่งอำเภอ เป็น ผอ.ศูนย์ อปพร. กิ่งอำเภอ ที่ทำการ ปค.กิ่งอำเภอ เป็น ศูนย์ อปพร. กิ่งอำเภอ จนท.ของที่ทำการปกครองกิ่งอำเภอ เป็น เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ศูนย์ อปพร.กิ่งอำเภอ

  20. ผอ.ปพร. เทศบาล เป็น ผอ.ศูนย์ อปพร. เทศบาล สำนักปลัดเทศบาล เป็น ศูนย์ อปพร. เทศบาล จนท.ของสำนักปลัดเทศบาล เป็น เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ศูนย์ อปพร.เทศบาล

  21. นายก อบต. เป็น ผอ.ศูนย์ อปพร. อบต. สำนักปลัด อบต. เป็น ศูนย์ อปพร. อบต. จนท.ของสำนักปลัด อบต. เป็น เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ศูนย์ อปพร.อบต.

  22. ศูนย์ อปพร.กลาง ศูนย์ อปพร. เขต โครงสร้างศูนย์ อปพร. ศูนย์ อปพร จังหวัด ศูนย์ อปพร.กทม. ศูนย์ อปพร. เทศบาลเมือง/นคร ศูนย์ อปพร. อำเภอ/กิ่งอำเภอ ศูนย์ อปพร.เมืองพัทยา ศูนย์ อปพร. เขตใน กทม. ศูนย์ อปพร. เทศบาลตำบล ศูนย์ อปพร. อบต. หน่วย อปพร. ฝ่ายป้องกันและบรรเทาภัย ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย ฝ่ายสงเคราะห์ผู้ประสบภัย ฝ่ายอื่น ๆ

  23. ฝ่ายป้องกันและบรรเทาภัยหน.ฝ. 1 คน /รอง 2 คน 1. ตรวจตรา สอดส่อง พื้นที่เสี่ยงภัย 2. สำรวจ พัฒนาแหล่งน้ำ 3. จัดเตรียม และสนับสนุนเครื่องมือเครื่องใช้ 4. ติดตาม และแจ้งข่าว 5. แจ้งเตือนภัย 6. สนับสนุนฝึกซ้อมแผน 7. ปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง ผอ.ศูนย์ อปพร. มอบหมาย

  24. ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อยหน.ฝ. 1 คน / รอง 2 คน 1. ร่วมรักษาความสงบเรียบร้อยโดยทั่วไป 2. ร่วมจัดระเบียบการจราจร และกำหนดเขตพื้นที่ห้ามเข้า 3. ร่วมป้องกันโจรกรรม อาชญากรรม และการก่อความไม่สงบ 4. ร่วมควบคุม ตรวจตราบุคคล 5. ร่วมควบคุมให้ความปลอดภัย 6. ร่วมฝึกซ้อมแผน 7. ปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง ผอ.ศูนย์ อปพร. มอบหมาย

  25. ฝ่ายสงเคราะห์ผู้ประสบภัยหน.ฝ. 1 คน / รอง 2 คน 1. จัดเตรียม และสนับสนุนเจ้าหน้าที่ในด้านสงเคราะห์ 2. จัดเตรียม และสนับสนุนเครื่องอุปโภค บริโภค 3. จัดเตรียม และสนับสนุนสถานที่อพยพ 4. ร่วมสำรวจความเสียหาย / จัดทำบัญชี 5. ช่วยเหลือการแจกจ่ายสิ่งของ 6. ปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่ง ผอ.ศูนย์ อปพร. มอบหมาย

  26. หมวด 4 สิทธิ และวินัยของ อปพร.

  27. สิทธิ 1) มีสิทธิแต่งเครื่องแต่งกาย และประดับเครื่องหมาย อปพร. 2) มีสิทธิใช้อาวุธปืนของทางราชการในการปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร 3) ได้รับสิทธิและการคุ้มครองตามระเบียบและกฎหมาย พ.ร.บ.สงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการ การปฏิบัติงานของชาติ หรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม พ.ศ.2543

  28. กระทรวงการคลัง / กฎกระทรวง / กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและอัตราในการจ่ายเงินสงเคราะห์ และกำหนดลักษณะของความพิการทุพพลภาพขนาดหนักจนเป็นอุปสรรคสำคัญยิ่ง ในการประกอบอาชีพ หรือในการดำรงชีพ พ.ศ.2544 ข้อ 1 (1) เสียชีวิตหรือทุพพลภาพขนาดหนัก ได้ 30 เท่าของอัตราเงินเดือน (ระดับ 3 ขั้นต้น) (2) แขนขาดข้างหนึ่ง ได้ 24 เท่าของอัตราเงินเดือน (3) ขาขาดข้างหนึ่ง ได้ 22 เท่าของอัตราเงินเดือน (4) มือขาดข้างหนึ่ง ได้ 18 เท่าของอัตราเงินเดือน ฯลฯ สิทธิ

  29. วินัย * สนับสนุนและดำรงรักษาการปกครอง * ปฏิบัติตามคำสั่งโดยเคร่งครัด / สนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนย์ อปพร.ที่สังกัด * ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ไม่หวังผลประโยชน์ตอบแทน * สามัคคี เสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อส่วนรวม * ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรม * ไม่เสพสุราในขณะปฏิบัติภารกิจ * ไม่ใช้กิริยาวาจาที่ไม่สุภาพต่อประชาชน * ไม่รายงานเท็จ * ไม่เปิดเผยความลับของทางราชการ * ไม่แสวงหาผลประโยชน์อันมิชอบเพื่อตนเอง หรือผู้อื่นจากการปฏิบัติภารกิจ อปพร.

  30. หมวด 5 หน้าที่และการสั่งใช้

  31. ข้อ 36 สมาชิก อปพร. / คำสั่ง ผอ.ปพร. / ข้อบังคับ / ระเบียบ มท.อปพร. ข้อ 37 ผอ.ศูนย์ อปพร.จว. มีอำนาจสั่งการ อนุมัติ อนุญาต ปฏิบัติภารกิจมอบหมายให้ ผอ.ศูนย์ อปพร.อ./กอ./เทศบาล/อบต./เมืองพัทยา/เขต กทม. สั่งอนุมัติ อนุญาต แทนได้ ข้อ 38 ผอ.ศูนย์ อปพร. อาจสั่งสมาชิก อปพร.ไปปฏิบัติภารกิจนอกเขตก็ได้ ข้อ 39 ในกรณีเร่งด่วน / หน.ฝ. / ผอ.ศูนย์ ไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รอง หน.ฝ. / รอง ผอ.ศูนย์ เป็นผู้สั่งการ อนุมัติ อนุญาต แทนไปพลางก่อนได้ ข้อ 40 การสั่งการ/รายงาน ให้ทำตามลำดับชั้นการบังคับบัญชา เว้นแต่กรณีฉุกเฉินอาจรายงานผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นได้ แต่ต้องรีบรายงานผู้บังคับบัญชาสายตรง ข้อ 41 สมาชิก อปพร.ที่ปฏิบัติงานดีเด่น ผอ.ศูนย์ อปพร. อาจพิจารณามอบประกาศเกียรติคุณสรรเสริญและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ

  32. หมวด 6 เครื่องหมาย บัตรประจำตัว วุฒิบัตร และเครื่องแต่งกาย

  33. เครื่องหมาย อปพร. 1. แผ่นผ้าปักด้วยไหม กว้าง 6.5 ซม. ยาว 9 ซม. 2. เข็มทำด้วยโลหะ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 3.5 ซม.

  34. มือขวา “การให้การป้องกัน ช่วยเหลือ และ บรรเทาภัย” คลื่นน้ำ “อุทกภัย” ธงชาติ “สถาบันสูงสุด คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์” ลมพายุ “วาตภัย” ไฟ “อัคคีภัย” ลูกระเบิด “ระเบิดนิวเคลียร์ อาวุธเคมี ภัยทางอากาศ การก่อวินาศกรรม” ช่อชัยพฤกษ์ “ความสำเร็จ”

  35. บัตรประจำตัว เลขประจำตัวประชาชน …………………………………… ชื่อ……………………… อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ………… สังกัดศูนย์ อปพร อบต.เชิงดอย ลายมือชื่อเจ้าของบัตร หมู่โลหิต…….. ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ รูปถ่าย 2.5 ซม. X 2.5 ซม. กว้าง 5.5 ซม. ยาว 8.5 ซม. บัตรประจำตัว อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เลขที่………………………... ศูนย์ อปพร. จังหวัดเชียงใหม่ วันออกบัตร…./……./…... บัตรหมดอายุ……./……./…..... 4 ปี

  36. วุฒิบัตร ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนจังหวัดเชียงใหม่ หนังสือสำคัญฉบับนี้ให้ไว้เพื่อแสดงว่า นายเมตตา กล้าหาญ เป็นผู้สำเร็จการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ขอให้นำความรู้และประสบการณ์จากการฝึกอบรม ไปเป็นหลักปฏิบัติ ให้บังเกิดผลดี แก่ราชการสืบไป ให้ไว้ ณ วันที่ ๘ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ผู้อำนวยการศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนจังหวัดเชียงใหม่ 21 ซม. 29.7 ซม.

  37. หมวกแก๊ปทรงอ่อน รอง ผอ.ศูนย์ อปพร.กลาง/รอง ผอ.ศูนย์ อปพร.จังหวัด , กทม./ผอ.ศูนย์ อปพร.เขต ดำรงตำแหน่งเทียบได้ ตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นไป

  38. หมวกแก๊ปทรงอ่อน ผอ.ศูนย์ อปพร.อำเภอ / กิ่งอำเภอ / เทศบาล / อบต. / เขต กทม. / เมืองพัทยา ดำรงตำแหน่งเทียบได้ ตั้งแต่ระดับ 8 ขึ้นไป

  39. หมวกแก๊ปทรงอ่อน เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ อปพร.

  40. หมวกแก๊ปทรงอ่อน คณะกรรมการ อปพร.จังหวัด

  41. หมวกแก๊ปทรงอ่อน ครูฝึก / วิทยากร / สมาชิก อปพร.

  42. เครื่องหมายหน้าหมวก ผู้บังคับบัญชา จนท.ประจำศูนย์ อปพร. 5 ซม. 4 ซม.

  43. เครื่องหมายหน้าหมวก กรอบสีน้ำตาล พื้นสีน้ำตาล รัศมี (สีเหลือง) 4 ซม. รูปอุณาโลม (สีเหลือง) แพร (สีเหลือง) ตัวอักษร (สีดำ) 3.5 ซม. ครูฝึก วิทยากร และสมาชิก อปพร.

  44. เครื่องแต่งกาย แบบที่ 1 เสื้อคอเปิดสีกากี ตัวเสื้อปล่อยยาวถึงสะโพก

  45. ศูนย์ อปพร.จ.ชม. เครื่องแต่งกาย แบบที่ 2 เสื้อคอเปิดสีกากี สอดชายเสื้อไว้ในกางเกง

  46. เครื่องแต่งกาย เสื้อกั๊ก ด้านหน้า ด้านหลัง กว้าง 2 ซม. อปพร. ศูนย์ อปพร.อบต.สันกลาง สูง 8 ซม. กว้าง 15 ซม. ยาว 21 ซม. สูง 2 ซม. ผ้าตาข่ายชนิดเส้นใย POLYESTERสีแสด ชายเสื้อสีดำ

  47. เครื่องแต่งกาย เสื้อยืด ด้านหน้า ด้านหลัง ผ้ายืด แขนยาว สีดำ ปก สีดำ

  48. เครื่องแต่งกาย ชุดต่อเนื่องกับกางเกง (ชุดสวม) ด้านหน้า ด้านหลัง ผ้าไม่ติดไฟสีส้ม

  49. เข็มขัด ด้ายถักสีดำ ขนาดกว้าง 3 ซม. *หัวเข็มขัดโลหะรมดำ กว้าง 4 ซม. *หัวเข็มขัดทำด้วยโลหะสีทอง กว้าง 2.5 ซม. ยาว 5 ซม.

  50. รองเท้า ถุงเท้า ชุดฝึกหรือชุดปฏิบัติการ 1. รองเท้าสูงครึ่งน่องหนังสีดำ 2. รองเท้าเดินป่าสีดำ 3. รองเท้าหุ้มข้อ / หุ้มส้นทำด้วยหนัง / วัตถุเทียบหนัง / ผ้าใบสีดำ ชุดพิธีการ รองเท้าหุ้มข้อ / หุ้มส้นทำด้วยหนัง / วัตถุเทียบหนัง ต้องมีส้น ไม่มีริ้วและลวดลาย ถุงเท้าสีดำ

More Related