1 / 23

2. แผนปฏิบัติการของการบริหารจัดการน้ำหลาก

2. แผนปฏิบัติการของการบริหารจัดการน้ำหลาก. จัดตั้งศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ. 1. 2. ติดตามสภาวะทางอุตุ – อุทกวิทยาอย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย สภาวะอากาศ สภาพน้ำฝน พายุจร สภาพน้ำท่า สภาพน้ำในอ่าง. www.tmd.go.th (กรมอุตุนิยมวิทยา).

sal
Télécharger la présentation

2. แผนปฏิบัติการของการบริหารจัดการน้ำหลาก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2. แผนปฏิบัติการของการบริหารจัดการน้ำหลาก จัดตั้งศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ 1

  2. 2 ติดตามสภาวะทางอุตุ – อุทกวิทยาอย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย สภาวะอากาศ สภาพน้ำฝน พายุจร สภาพน้ำท่า สภาพน้ำในอ่าง www.tmd.go.th(กรมอุตุนิยมวิทยา) http://www.hydro-8.com/(ศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำภาคใต้) http://www.ridceotrang.com(โครงการชลประทานตรัง)

  3. 3 การใช้ระบบโทรมาตร เพื่อพยากรณ์และเตือนภัยน้ำท่วม ติดตามสถานการณ์น้ำแบบเวลาจริง สถานีX.139 ต.ปะเหลียน อ.ปะเหลียน สถานี X.236 เทศบาลตำบลย่านตาขาว อ.ย่านตาขาว สถานีเป้าหมาย X.234 ต.นาตาล่วง อ.เมือง สถานีเฝ้าระวัง X.56 ต.เขากอบ อ.ห้วยยอด

  4. 4 ตรวจสอบความพร้อมการใช้งานของอาคารชลประทานต่างๆ ดำเนินการแล้วจำนวน 726 แห่ง ตามตัวชี้วัดที่ 8 และดำเนินการเสร็จสิ้นทั้งโครงการแล้ว

  5. 5 ปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารชลประทานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน ปรับปรุง จำนวน 6 แห่ง ซ่อมแซม จำนวน 83 แห่ง

  6. 6 ขุดลอกและกำจัดวัชพืช เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรับน้ำและระบายน้ำ ขุดลอกคลอง จำนวน 5 แห่ง กำจัดวัชพืช จำนวน 4 แห่ง ขุดลอกตะกอนดินในคลองส่งน้ำ จำนวน 10 แห่ง ขุดลอกคลองน้ำเจ็ด กำจัดวัชพืช ขุดลอกคลองนางน้อย ขุดลอกตะกอนดิน

  7. 7 เตรียมความพร้อมเครื่องจักรเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ เช่น เครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ รถขุด รถบรรทุก และกระสอบทราย เป็นต้น รถตักหน้าขุดหลัง จำนวน 1 คัน รถบรรทุก 6 ล้อ จำนวน 3 คัน เครื่องสูบน้ำขนาด 8 ,10 ,12 นิ้ว ขอสนับสนุนจาก สชป.16 เรือท้องแบบติดเครื่องยนต์ จำนวน 1 ลำ

  8. แผนปฏิบัติการแบ่งตามลุ่มน้ำย่อยแผนปฏิบัติการแบ่งตามลุ่มน้ำย่อย 1.คลองท่างิ้ว อ่างเก็บน้ำคลองท่างิ้ว ความจุที่ ร.น.ก.+18.500 ล้าน ลบ.ม. ที่ตั้ง : หมู่ที่ 1 ต.ท่างิ้ว อ.ห้วยยอด

  9. อ่างเก็บน้ำคลองท่างิ้ว จังหวัดตรัง 1.พร่องน้ำโดยใช้ rule curve และ r.o.s. ตามความเหมาะสม 2.แจ้ง อบต. ในพื้นที่เพื่อเปิดบานระบาย โครงการ ชป.เล็ก ที่อยู่ท้ายอ่างฯ

  10. การพร่องน้ำในอ่างเก็บน้ำรับน้ำหลาก

  11. กรณีน้ำเริ่มไหลผ่าน • อาคารระบายน้ำฉุกเฉิน • อ่างเก็บน้ำคลองท่างิ้ว • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัยเมื่อระดับน้ำเข้าสู่ระดับเตือนภัย • ภายใน 3 - 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับอุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง /อพยพ คน อยู่ในที่ปลอดภัย

  12. กรณีระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำถึงระดับสันอ่างเก็บน้ำกรณีระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำถึงระดับสันอ่างเก็บน้ำ ข้อแนะนำ 1. ใช้เครื่องสูบน้ำ ขนาด 12 นิ้ว จำนวน 75 เครื่อง สูบน้ำลงด้านท้ายอ่าง ซึ่งได้ปริมาณน้ำ 18.750 ลบ.ม./วิ (จากการตรวจสอบข้อมูลระดับน้ำที่ไหลเข้าอ่างสูงสุด 18.441 ลบ.ม./วิ ข้อมูลเมื่อ มีนาคม 2554 2. ใช้ท่อเหล็กขนาด Ø 8 - Ø 12 กาลักน้ำลงท้ายอ่าง

  13. 3. การตัดสันเขื่อน คงไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากพื้นที่ไม่เหมาะสม ตามรูปที่แนบมาด้วยนี้

  14. 2.คลองนางน้อย 1.พร่องน้ำหน้าฝายคลองนางน้อย โดยยกเครื่องกว้านบานระบาย

  15. ฝาย คลองลำชาน LMC Q=2.181 ลบ.ม./วินาที 1L - LMC คลองซอย 1L - LMC คลองซอย 1L - LMC Q=0.221 ลบ.ม./วินาที 2L - LMC คลองซอย 1L - LMC Q=0.376 ลบ.ม./วินาที 3L - LMC คลองซอย 1L - LMC Q=0.131 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำตรัง 2.ผันน้ำเข้าสู่คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งซ้าย

  16. กรณีน้ำเริ่มท่วม • โครงการฝายคลองนางน้อย • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัยเมื่อระดับน้ำเข้าสู่ระดับเตือนภัย • ภายใน 3 - 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับอุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง /อพยพ คน อยู่ในที่ปลอดภัย

  17. 3. คลองปะเหลียน 1.พร่องน้ำหน้า ปตร.คลองปะเหลียน โดยยกเครื่องกว้านบานระบาย

  18. ปตร.ปะเหลียน คลองระบายน้ำสายใหญ่ LMC Q=1.021 ลบ.ม./วินาที Q=0.267 ลบ.ม./วินาที คลองซอย 1R - LMC คลองระบายน้ำสาย2-สายใหญ่ Q=0.383 ลบ.ม./วินาที คลองซอย 2R - LMC Q=0.339 ลบ.ม./วินาที คลองแยกซอย 1L – 2R - LMC คลองระบายน้ำสาย1-สายใหญ่ ทะเลอันดามัน 2.ผันน้ำเข้าสู่คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งซ้าย ไปสู่คลองระบาย และลงทะเลต่อไป

  19. กรณีน้ำท่วม • โครงการประตูระบายน้ำคลองปะเหลียน • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัย ภายใน 3 – 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับ • อุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง อพยพคนไปอยู่ในที่ปลอดภัย

  20. 4.คลองกะลาเสใหญ่ 1.พร่องน้ำหน้า ปตร.คลองกะลาเสใหญ่ โดยยกเครื่องกว้านบานระบาย

  21. RMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที Q=1.624 ลบ.ม./วินาที LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 1 R-LMC 1 R-RMC Q=0.123 ลบ.ม./วินาที Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 2 R-LMC Q=0.207 ลบ.ม./วินาที 1L-RMC 3 R-LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 2 R-RMC คลองกะลาเสใหญ่ 4 R-LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที Q=0.090 ลบ.ม./วินาที 1R-1L-RMC 5 R-LMC Q=0.123 ลบ.ม./วินาที Q=0.096 ลบ.ม./วินาที 6 R-LMC Q=0.207 ลบ.ม./วินาที คลองกะลาเสน้อย 1L-6 R-LMC Q=0.090 ลบ.ม./วินาที Q=0.483 ลบ.ม./วินาที 7 R-LMC 1L-7 R-LMC Q=0.123 ลบ.ม./วินาที Q=0.123 ลบ.ม./วินาที 8 R-LMC ทะเลอันดามัน 2.ผันน้ำเข้าสู่คลองส่งน้ำ LMC, RMC ไปสู่คลองธรรมชาติ และลงทะเลต่อไป

  22. กรณีน้ำท่วม • โครงการประตูระบายน้ำคลองกะลาเสใหญ่ • ติดตามสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด • แจ้งเตือนภัย ภายใน 3 – 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับ • อุทกภัย • ขนย้ายสิ่งของไว้ที่สูง อพยพคนไปอยู่ในที่ปลอดภัย

  23. 5. แม่น้ำตรัง 1.ตรวจสอบระดับน้ำแม่น้ำตรังบริเวณ อ.รัษฏา ซึ่งอยู่บริเวณต้นน้ำ 2.ตรวจสอบระดับน้ำที่สถานีวัดน้ำ X.56 ต.เขากอบ อ.ห้วยยอด ระดับน้ำสูงขึ้นในระดับตลิ่งที่ระดับ +13.600 ม.รทก. 3.ระดับน้ำที่ X.56 +13.600 ม.รทก. ให้ทำหนังสือเตือนภัยไปที่ผู้ว่าราชการจังหวัด สำเนา หัวหน้าสำนักป้องกันบรรเทาสาธารณะภัยจังหวัด เพื่อเตือนภัย ราษฏรในเขต อ.เมือง อ.กันตัง อ.วังวิเศษ ที่มีบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำตรัง

More Related