1 / 21

นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี

นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี. Organizational Governance (OG). ลำดับการนำเสนอ. ความหมาย. นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ ดี. 1. ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม. 2. ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย.

Télécharger la présentation

นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี Organizational Governance (OG)

  2. ลำดับการนำเสนอ

  3. ความหมาย นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 1.ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม 2. ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย หมายถึงการประกาศเจตนารมณ์ขององค์การที่จะดำเนินการ และกำหนดนโยบายตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยผู้บริหารของแต่ละองค์การจะต้องวางนโยบายเกี่ยวกับรัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์การและผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติ และมาตรการหรือโครงการ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายขององค์การ 4. ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน 3.ด้าน องค์การ

  4. หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. การมีส่วนร่วม (Participation) 2.ความโปร่งใส (Transparency) 10.การมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) 3.การตอบสนอง (Responsiveness) 9.ความเสมอภาค/เที่ยงธรรม (Equity) 4.ภาระรับผิดชอบ(Accountability) เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 8.นิติธรรม (Rule of law) 5. ประสิทธิผล (Effectiveness) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พศ 2542 Good Governance 6.ประสิทธิภาพ (Efficiency) 7.การกระจายอำนาจ (Decentralization) 1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส 4. หลักความมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความคุ้มค่า ยกเลิกแล้ว

  5. องค์ประกอบ 2. ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย 1. ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม นโยบายหลัก 4 ด้าน • แนวทางปฏิบัติ ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ มาตรการ โครงการ

  6. มีหรือไม่มีนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีต่างกันอย่างไรมีหรือไม่มีนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีต่างกันอย่างไร วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ ยุทธศาสตร์ นโยบายการบริหาร 1.ประสิทธิผล (Effectiveness) • วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ 2.ประสิทธิภาพ (Efficiency) • ความคุ้มค่า ตัวอย่าง โครงการ 2. ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย โครงการพัฒนาผู้มีศักยภาพสูง 1. ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม โครงการ 3. การตอบสนอง (Responsiveness) • คุณภาพ 10.การมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) • โปร่งใส • เป็นธรรม • มีประสิทธิภาพ โครงการ องค์กร 4.ภาระรับผิดชอบ(Accountability) ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน 9.ความเสมอภาค/เที่ยงธรรม (Equity) โครงการ 8.นิติธรรม (Rule of law) 5. ความโปร่งใส (Transparency) 7.การกระจายอำนาจ (Decentralization) 6. การมีส่วนร่วม (Participation) นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  7. ตัวอย่างนโยบายหลัก 1. ส่งเสริม สนับสนุนแนวความคิดใหม่ๆ ตลอดจนการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการให้บริการเพื่อความสะดวก ทันสมัย และตอบสนองความต้องการ 1. ให้ความสำคัญกับการรักษาและส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากการดำเนินงาน 2.สนับสนุนการปรับปรุงการดำเนินงานด้วยการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม 2.มุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการรับผิดชอบต่อการสร้างสรรค์สังคมที่ดี มีความสุข ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ 1. ให้ความสำคัญในเรื่องการสร้างระบบความปลอดภัยของสำนักงานที่มีประสิทธิภาพ 1. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2. สงเสริม ปลูกฝังและกระตุนใหผู้ปฏิบัติงานตระหนักถึงความเสี่ยงจนเปนวัฒนธรรมองคการ 2. มุ่งส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาค 3.มุ่งเน้นการปฏิบัติงานที่โปร่งใส ปราศจากทุจริตหรือมีผลประโยชน์ทับซ้อน

  8. ค่านิยมหลักขององค์การค่านิยมหลักขององค์การ ธรรมาภิบาล ตัวอย่าง การวิเคราะห์นโยบายหลัก และแนวทางปฏิบัติ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี มาตรการ/ โครงการ นโยบายหลัก วิสัยทัศน์ แนวทาง ปฏิบัติ พันธกิจ กระบวนงาน 3 วิเคราะห์ 1 2 โครงการจัดทำมาตรฐานการก่อสร้างทางในย่านชุมชนเพื่อป้องกันเสียง ตัวอย่าง กำหนดมาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติงานที่รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการก่อสร้างถนน ให้ความสำคัญกับการรักษาและรับผิดชอบต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากการดำเนินงานขององค์กร

  9. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้กำหนดเป็นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้กำหนดเป็นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี • สนองนโยบายรัฐ • ปฏิบัติงานตามกรอบกฎ ระเบียบของรัฐ • เป็นกลางทางการเมือง • คุ้มค่าในเชิงการใช้จ่ายงบประมาณ • รับผิดชอบต่อการใช้เงินงบประมาณ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม รัฐ • รับผิดชอบต่อชุมชน/สังคมที่หน่วยงานตั้งอยู่ • รับผิดชอบต่อผลกระทบจากการดำเนินงานต่อชุมชน/สังคม • มีส่วนร่วมจากคนในชุมชน หรือสังคม • ยึดถือประโยชน์ของชุมชน/สังคม • ไม่เลือกปฏิบัติ สังคม ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย สิ่งแวดล้อม • รับผิดชอบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม • ไม่ชัดกับกฎหมาย ระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ

  10. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี • บริการด้วยความทันสมัย • ตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการ • บริการด้วยความโปร่งใส • ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค • ไม่เลือกปฏิบัติ • เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการกำหนดรูปแบบ • ของการบริการ • บริการด้วยความรวดเร็ว มีคุณภาพ • บริการด้วยความซื่อสัตย์ ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ผู้รับบริการ ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม • ด้วยความซื่อสัตย์ ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน • ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค • ไม่เลือกปฏิบัติ • เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม • ด้วยความโปร่งใส • ด้วยความรวดเร็ว มีคุณภาพ ด้าน องค์การ ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน

  11. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ด้าน องค์การ ความเสี่ยง • มีระบบรองรับความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น ด้าน • ยุทธศาสตร์ ด้านธรรมาภิบาล ด้านเทคโนโลยี • ด้านกระบวนการ ด้านข้อมูล ด้านความปลอดภัย การกำกับดูแลที่ดี • มีเครื่องมือ กลไก แนวทาง ระบบ ที่กำกับดูแล ติดตามผลการ • ดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ • มีเครื่องมือ กลไก แนวทาง ระบบที่กำกับการทำงานของ • บุคลากรให้มีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม • มีระบบควบคุมด้านการเงินทีมีประสิทธิภาพ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย การพัฒนาองค์การ • มีการสร้างบรรยากาศ /วัฒนธรรมองค์กรที่ • เอื้อต่อผลสำเร็จของงาน • มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับ • การดำเนินงานขององค์กร ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน

  12. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน • ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ • ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม • แสดงความรับผิดชอบต่อการบริหารงานบุคคล ความก้าวหน้าในอาชีพ • ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ • ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม • ดำเนินการอย่างมีวิสัยทัศน์ รองรับการเปลี่ยนแปลง • รับผิดชอบต่อความคุ้มค่าของการดำเนินงาน การพัฒนาขีดความสามารถ • ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ • เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วม • ดำเนินการอย่างมีวิสัยทัศน์ รองรับการ • เปลี่ยนแปลง • มีอุปกรณ์ อาคารสถานที่ที่ทันสมัย • สะอาด เหมาะสมและสนับสนุนต่อการปฏิบัติงาน • ยกระดับคุณภาพชีวิต ในเรื่องต่างๆ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ด้าน องค์การ

  13. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลใน การดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐให้เกิดขึ้นอย่างเป็น รูปธรรม 2. เพื่อเป็นกรอบการดำเนินงาน ตามหลักธรรมาภิบาลและ ค่านิยมขององค์การ 3. เพื่อให้การดำเนินงานของ ภาครัฐเป็นที่ศรัทธา มั่นใจ และไว้วางใจจากประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวม ทั้งเป็นที่ยอมรับในระดับ สากล

  14. ความเชื่อมโยงระหว่าง OG และ PMQA 1.1 ข. การกำกับดูแลตนเองที่ดี 1.2 ก. ความรับผิดชอบ ต่อสาธารณะ 1.2 ข. การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม 1.2 ค. การให้การสนับ สนุนต่อชุมชนที่สำคัญ

  15. การดำเนินการ มอบหมายผู้รับผิดชอบ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี จัดทำแผนดำเนินการประจำปี • รายงานผล • การติดตาม • รายงาน • สรุปผล • การ • ดำเนินงาน • คำสั่ง • อบรม • ประชุม • ร่าง • นโยบาย • เอกสาร • นโยบาย • ที่ได้รับ • การเห็นชอบ • ช่องทางการ • สื่อสาร • ช่องทางการ • ตอบข้อสงสัย • เสวนา • ประชุม • แลกเปลี่ยน • เรียนรู้

  16. ความเชื่อมโยงกับ เกณฑ์Fundamental Level หมวด 1 หมวด 7 LD 5 RM 1

  17. เกณฑ์ฯ ปี 52

  18. RM 1: ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ/โครงการ) การพิจารณาการดำเนินการตาม RM 1 ให้ยึดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1(LD5) มาประกอบการพิจารณาดำเนินการ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี พิจารณาวัดจากโครงการที่จังหวัดคัดเลือกมาดำเนินการในแต่ละด้านของนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี โดยจะนำเป้าหมายของโครงการที่ได้กำหนดไว้ ซึ่งต้องมีลักษณะที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของโครงการอย่างชัดเจน ด้วยการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของมาตรการ/โครงการ (ซึ่งไม่ใช่ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามกิจกรรมในมาตรการ/โครงการ) รวมทั้ง กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละตัวชี้วัดอย่างชัดเจน ตัวอย่างการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ เช่น โครงการการจัดทำเกณฑ์การคัดเลือกบุคลากรเพื่อขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น การวัดความสำเร็จ คือ ร้อยละของบุคลากรที่มีความพึงพอใจต่อเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ทั้งนี้ ได้กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน คือ ระดับคะแนน 5 = 100% ระดับคะแนน 4 = 90% ระดับคะแนน 3 = 80% ระดับคะแนน 2 = 70% ระดับคะแนน 1 = 60% เกณฑ์การให้คะแนนตาม RM 1 จะพิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของตัวชี้วัดเป้าหมายตามมาตรการ/โครงการที่ปฏิบัติได้จริง เปรียบเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนดไว้ ดังนี้ ปี 53 ปี 52

  19. ขั้นตอนการ เตรียมการ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 2. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ขั้นตอนการจัดทำร่าง นโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี 4. กำหนดร่างนโยบายหลัก 4 ด้าน 3. ประชุมทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจค่านิยมหลักขององค์การ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน 6. ขออนุมัติและการประกาศใช้ ขั้นตอนการนำ ไปปฏิบัติและ ประเมินผล 7. นำนโยบายฯ ไปสู่การปฏิบัติ ตัวอย่างการเขียนขั้นตอนการจัดทำนโยบายฯ 1 เดือน 1 วัน 1 เดือน 7 วัน ติดตามประเมินผล ดำเนินการ/จัดกิจกรรม กำหนดมาตรการ/โครงการ สร้างความเข้าใจ สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ 10 เดือน

  20. Q&A

More Related