1 / 35

นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย

โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ณ ห้องประชุมอุดรดุษฎีโรงแรมเจริญโฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี. นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Email: foodsafety@moph.mail.go.th www.foodsafetythailand.net.

sancha
Télécharger la présentation

นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กณ ห้องประชุมอุดรดุษฎีโรงแรมเจริญโฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Email: foodsafety@moph.mail.go.th www.foodsafetythailand.net

  2. การอบรมพัฒนาศักยภาพโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการอบรมพัฒนาศักยภาพโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วันที่ 22 พฤษภาคม 2556 เวลา 10.30 น.-12.00 น. • อภิปรายแนวทางการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปลอดโรค ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดย นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย

  3. ปี 2555-2558 นโยบายอาหารปลอดภัย ส่งเสริมครัวไทยเป็นครัวโลก 1 ระบบ แผนบูรณา การ 2 ระบบ ตรวจสอบ เฝ้าระวังป้องกัน ความปลอดภัย 3 ระบบ ควบคุมมาตรฐานของสถานที่และแหล่งผลิต 5 ระบบ จัดการอุบัติ การณ์ 4 ระบบ ข้อมูล สื่อสาร 6 ระบบ รางวัล มาตรการแผนงาน แนวทาง THAILAND เกษตร,ท้องถิ่น, ชุมชน แหล่งผลิต, ฟาร์ม ต้นน้ำ 1 2 3 4 5 6 GAP, Organics เกษตร อย., สสจ. แปรรูปเกษคร , โรงงานอุตสาหกรรม , OTOP ยุทธศาสตร์ กลางน้ำ พัฒนาอาหารปลอดภัย ท้องถิ่น, กรมอนามัย,กรมวิทย์, สป.โรงพยาบาลทุกแห่ง ปลายน้ำ แหล่งจำหน่าย, โรงพยาบาล 1.บูรณาการ 2.เชื่อมโยง 3.เครือข่าย 4.ถ่ายทอดข้อมูล ครัว-อาหาร ปลอดภัย เพื่อคนไทย และสังคมโลก โรงเรียนอาหารปลอดภัย ผู้นำ อาเซียน ประชาชนปลอดภัย เกษตรกรไทยมั่นคง

  4. สถานการณ์ โรคอาหารเป็นพิษ ปี 2550-2544 ในเด็กเล็ก (0-4) และนักเรียน 5-14 ปี มีเหตุการณ์โรคอาหารเป็นพิษมากที่สุดเมื่อเทียบกับวัยอื่น ภาพที่ 1 รายงานสถานการณ์โรคอาหารเป็นพิษแยกตามกลุ่มอายุ • โรคอุจจาระร่วง ปี 2555 ป่วย 1,013,225 ราย(อัตราป่วย 1595.00 ต่อแสน ประชากร) เสียชีวิต 37 ราย(อัตราตาย 0.06 ต่อแสนประชากร)

  5. ผลกระทบที่เกิดขึ้น มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการเจริญเติบโตของเด็ก มีผลกระทบต่อการเรียน และพัฒนาการของเด็ก มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ (เพิ่มค่าใช้จ่ายของผู้ปกครอง การแพทย์และสาธารณสุข) ลดประสิทธิภาพการทำงานผู้ปกครอง

  6. นโยบายรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขนโยบายรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ประเทศ ข้อ ๑.๒.๒ ลดความเหลื่อมล้ำ-การดูแลเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และ ผู้ด้อยโอกาส ข้อ 4.3.3 จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย ตาย โดยลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ จัดให้มีการสื่อสารสาธารณะของรัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความรู้ป้องกันโรคเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพตนเองของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การให้บริการเชิงรุก ตลอดจนคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาอาหารปลอดภัย ลดโรค ควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังโรค ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน นโยบายลดอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ / อุจจาระร่วงของนักเรียน และ เด็กเล็ก

  7. เป้าหมาย/ผลลัพธ์ ในโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกจังหวัด Target group ได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย ลดโรคอาหารเป็นพิษ และควบคุมการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษและอุจจาระร่วง ปี 59 ปี 58 Target group : 100% ของ รร. และ ศพด. จำนวน 50,870 แห่ง ปี 57 เป้าหมาย : เพื่อให้โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอาหารปลอดภัย และไม่มีเหตุการณ์ระบาดของโรคอาหารเป็นพิษและโรคอุจจาระร่วง ปี 56 Outcome : ลดผลกระทบต่อสุขภาพ และเศรษฐกิจ • ผลักดันการดำเนินงานทุกระดับแบบ co-owner (ประเทศ, จังหวัด, รร./ศพด.) • คัดเลือกจังหวัด/รร./ศพด. จำนวน ๙ จังหวัดเพื่อร่วมกันพัฒนาต้นแบบ • ตรวจราชการบูรณาการ ในปี 57-59 KSF

  8. ปฏิทินบูรณาการสาธารณสุข-ศึกษาธิการ-มหาดไทย โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีที่ ๑ / 2556 สรุปประเมินผลโครงการทั่วประเทศ ปีที่ ๑

  9. เชื่อมโยงระบบการควบคุมอาหารและอาหารปลอดภัยเชื่อมโยงระบบการควบคุมอาหารและอาหารปลอดภัย มาตรฐานและการคุ้มครองผู้บริโภค ระบาดวิทยา เฝ้าระวัง สอบสวนอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ การประเมินความเสี่ยง/การสื่อสารภายในและระหว่างประเทศ/จัดการอาหารปลอดภัยระดับจังหวัดบูรราการ Risk Assessment Hazardous / Toxin/Microbial Contamination Risk Management Risk Communication Incident Management Food Safety Emergency Response Plan (FSER+FRRT = Food Safety Rapid Response Team) at the community Standards, Control, Legislation, Pre and Post marketing, labeling, Registration, Surveillance, Monitoring, -Food and water borne diseases -Outbreaks -Food poisoning -Public Heath Emergency Response (PHER + SRRT)

  10. ระดับประเทศ(ส่วนกลาง) วิธีการดำเนินโครงการ 1. นโยบาย 1.1 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขขอความร่วมมือไปยัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และผู้ว่าราชการจังหวัดทั่วประเทศ (ยกเว้น กทม.) 1.2 ปลัดกระทรวงสาธารณสุขแจ้งไปยังสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดทั่วประเทศให้ร่วมดำเนินโครงการตามนโยบายรัฐบาล 1.3 ได้สำเนาหนังสือ 1 และ 2 แจ้งผู้เกี่ยวข้องเพื่อทราบและใช้ เป็นนโยบายการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2556 – 2559

  11. หนังสือขอความร่วมมือระหว่าง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ และจังหวัด

  12. ระดับประเทศ(ส่วนกลาง) 2. คณะกรรมการ กระทรวงสาธารณสุขได้มอบหมายให้สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัยเป็นเจ้าภาพการดำเนินงานบูรณาการในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยประสานความร่วมมือระหว่างจังหวัด กรม และกระทรวง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการวางแผน ส่งเสริม สนับสนุน ประเมินผลการดำเนินการดำเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายด้านอาหารปลอดภัย และบรรลุเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ตามคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ 211/2556

  13. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ

  14. ระดับประเทศ(ส่วนกลาง) 3. มีวิธีการดำเนินงานดังนี้ : - มีการประชุมจังหวัดที่ได้รับการคัดเลือกในการพัฒนารูปแบบ วันที่ 7 ก.พ. 56 และให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ และ วิธีการดำเนินโครงการ - เชิญจังหวัดที่ได้รับการคัดเลือกในการพัฒนารูปแบบทั้ง ๙ จังหวัด มาประชุม วันที่ 2 - ๔ เม.ย. 2556 - นิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน - จัดทำฐานข้อมูลการบริหารจัดการอาหารปลอดภัยปลอดโรค ของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - จัดทำโครงการประเมินผล และสรุปรายงานเสนอรัฐมนตรี ๓ กระทรวง และ รายงานผลงานรัฐบาล

  15. ระดับจังหวัด 1. ประกาศนโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัด เพื่อพัฒนากลไกและระบบบริหารจัดการ 2. ตั้งคณะกรรมการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กระดับจังหวัด - ดำเนินกิจกรรมและบริหารจัดการภายในโรงเรียน และศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก - โรงเรียน/องค์กรท้องถิ่นตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพ อาหารที่จัดเตรียมให้นักเรียน /เด็กเล็ก โดยการมีส่วนร่วม ของครู ผู้ปกครอง และนักเรียน - แนะนำ ตรวจมาตรฐานโรงครัว (ทั้งครัวในและครัวนอก) / โรงอาหาร และผู้ปรุงอาหาร

  16. ระดับจังหวัด มีวิธีการดำเนินงาน - จัดอบรมผู้ที่เกี่ยวข้อง (โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป้าหมาย - จัดทำแผนปฏิบัติการ และสุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร 5 ชนิด ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ นม ผัก น้ำบริโภค - มีการวิเคราะห์ข้อมูลการลดเหตุการณ์อาหารเป็นพิษ และโรคอุจจาระร่วงในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก - มีการรายงานผลการดำเนินงาน

  17. ระดับพื้นที่ (โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) มีนโยบายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในระดับจังหวัด เพื่อทำหน้าที่สร้างระบบบริหารจัดการ มีคณะกรรมการดำเนินงาน-ตรวจคุณภาพอาหารแบบมีส่วนร่วมจากผู้ปกครองและนักเรียน มีวิธีการดำเนินงาน - มีทะเบียนจัดเก็บข้อมูลเพื่อสร้างและดำเนินการระบบอาหารปลอดภัยปลอดโรคเพื่อลดโรคอาหารเป็นพิษ โรคอุจจาระร่วง รวมทั้งการจัดหาวัตถุดิบที่สะอาดปลอดภัย วิธีการปรุงที่เหมาะสม - มีระบบการรายงานไปที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมื่อเกิดอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ - มีการวิเคราะห์สภาพโครงสร้างของโรงครัวในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และวิเคราะห์ความก้าวหน้าของระบบ

  18. การอบรมพัฒนาศักยภาพ โครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรค ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วันที่ 23 พฤษภาคม 2556 เวลา 13.00 น. - 15.00 น. • ระบบรายงาน การติดตาม และประเมินผลสำเร็จของโครงการ โดย นางจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย

  19. โรคอาหารเป็นพิษ หมายถึง อาการป่วยที่เกิดจากการกินอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ ตลอดจนการปนเปื้อนของพิษจากพืช (เช่น เห็ดพิษ สบู่ดำ มะกล่ำ) หรือสัตว์บางชนิด (เช่นปลาปักเป้า แมงดาทะเล ปลาทะเลบางชนิด คางคก และหนอน แมลง) ยกเว้น พิษที่เกิดจากยา/โลหะหนัก/สารเคมีกำจัดศัตรูพืช • โรคอุจจาระร่วง หมายถึง การพบผู้ป่วยถ่ายเหลวตั้งแต่ ๓ ครั้งขึ้นไปต่อวัน หรือถ่ายเป็นน้ำ หรือถ่ายมีมูกเลือดปน หรือถ่ายมีเลือดปน อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อวัน (อ้างอิงจาก WHO) • การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ / โรคอุจจาระร่วง หมายถึง การพบผู้ป่วยที่มีอาการ อาเจียน หรือถ่ายเหลวอย่างน้อยจำนวน ๒ คนขึ้นไป ที่มีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา เช่น มีการรับประทานอาหารหรือน้ำร่วมกัน (อ้างอิงจาก CDC) คำจำกัดความ

  20. สรุปรายงานเสนอผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสรุปรายงานเสนอผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เสร็จสิ้น การแจ้งและตรวจสอบการพบโรคและเหตุการณ์ผิดปกติ : กรณีโรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ หรือด้านความปลอดภัยอาหาร โรงเรียน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พบผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ / อุจจาระร่วง /เหตุการณ์ผิดปกติในโรงเรียน หรือ ศูนย์เด็กเล็ก แจ้งผู้ปกครอง รพ.สต. แจ้งเจ้าหน้าที่รพ.สต. โดยตรง และ / หรือ แจ้งอสม. ในเขตรับผิดชอบ เพื่อแจ้งต่อ รพ.สต. แจ้งศูนย์ระดับอำเภอเพื่อตรวจประเมิน เตรียม สนับสนุนพื้นที่ เจ้าหน้าที่รพ.สต. 1. บันทึก และตรวจสอบข้อมูลและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. ประเมินเบื้องต้น ว่ามีเหตุการณ์เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ และมีการแพร่ระบาดหรือส่งผลกระทบได้ รพ.สต. (SRRT ตำบล) แจ้งศูนย์ระดับจังหวัดเพื่อตรวจประเมิน เตรียม สนับสนุนพื้นที่ ไม่ใช่ เป็นโรค / เหตุการณ์ที่ต้องสอบสวนและรายงานหรือไม่ รพ.สต. / เครือข่ายพื้นที่ (SRRT ตำบล) ใช่ เจ้าหน้าที่รพ.สต . และ เครือข่าย 1. สอบสวนข้อมูลและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. รายงานระบาด /สถานการณ์ที่เกิดขึ้น 3. ประสานสนับสนุนทรัพยากรร่วมมือปฏิบัติการ 4. ติดตามผลการดำเนินงาน รายงานส่วนกลาง -กรมคร. / สสอป.

  21. ระบบการจัดเก็บข้อมูลจำเป็นที่โรงเรียน / ศพด.

  22. ตารางที่ 1ทะเบียนรายชื่อผู้ประสานงานเมื่อเกิดเหตุการณ์โรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

  23. ตารางที่ 2แบบบันทึกเหตุการณ์โรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก(สำหรับการติดตามนิเทศงาน)

  24. ระบบรายงานผลส่งส่วนกลางระบบรายงานผลส่งส่วนกลาง (สสอป) Email : foodsafety@moph.mail.go.th

  25. แบบรายงานต่างๆที่ต้องส่งส่วนกลางแบบรายงานต่างๆที่ต้องส่งส่วนกลาง • รายงานผลการดำเนินงานตามฟอร์ม KPI/FP 56 • รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานที่กำหนด • รายงานบันทึกเหตุการณ์ระบาดโรคอาหารเป็นพิษหรืออุจจาระร่วง • รายงานการสุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร (ดาวน์โหลดได้ทาง www.foodsafetythailand.net)

  26. ระบบการติดตาม ประเมินผลสำเร็จ จากส่วนกลาง

  27. การติดตาม และประเมินผลสำเร็จ • ทีมนิเทศ ติดตาม เฉพาะ ๙ จังหวัดนำร่อง ในช่วงเดือน มิย.- กค. • ทีมประเมินผล โดยคณะผู้วิจัยจากภายนอก ร่วมกับ สสอป. • ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ ตามตัวชี้วัดและเป้าหมาย • ประเมินความเหมาะสมของวิธีการดำเนินงานของจังหวัด และผู้มีส่วนร่วมของที่เอื้อต่อความสำเร็จของโครงการ ปัญหาและอุปสรรค • ประเมินประโยชน์ด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าของโครงการและการใช้ทรัพยากร (เครื่องมือ อุปกรณ์ รถโมบาย งบประมาณ) และบุคลากร (บุคลากรสาธารณสุข จนท.ท้องถิ่น สพฐ. และผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการของ โรงเรียน/ศพด) • ประเมินผลกระทบเชิงสังคม ผลกระทบด้านนโยบาย ผลกระทบด้านจิตใจและการพัฒนาของผู้รับบริการ (นักเรียน เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ผู้ขายอาหาร ผู้ประกอบอาหารให้โรงเรียน/ศพด.)

  28. ร่างกำหนดการนิเทศติดตามโครงการอาหารปลอดภัยปลอดโรคในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจากคณะทำงานส่วนกลาง กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 1 9.00- 10.00 น.- พบผู้บริหารจังหวัด 10.00 – 12.00 น. - รับฟังการนำเสนอผลการดำเนินงานของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 12.00 – 13.00 น. - รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.30 น. - เยี่ยมพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กกลุ่มเป้าหมาย

  29. วันที่ 2 9.00 – 12.00 น. - เยี่ยมโรงเรียนประถมศึกษากลุ่มเป้าหมาย - เยี่ยมโรงเรียนขยายโอกาสกลุ่มเป้าหมาย 12.00 – 13.00 น. - รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.30 น. - เยี่ยมโรงเรียนมัธยมศึกษากลุ่มเป้าหมาย วันที่ 3 9.00 – 12.00 น. - สรุปผลการดูงาน(คณะทำงาน)

  30. ผู้เกี่ยวข้องที่ขอเชิญเข้าร่วมผู้เกี่ยวข้องที่ขอเชิญเข้าร่วม • โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • ผู้บริหารโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • ครูห้องพยาบาลของโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • ครูที่รับผิดชอบโครงการอาหารปลอดภัยฯของโรงเรียน/ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก • องค์การปกครองท้องถิ่น • องค์การปกครองท้องถิ่นที่รับผิดชอบ • ฝ่ายสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม

  31. ข้อกำหนดตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) กฎหมายและนโยบาย (Legislation and Policy) การประสานความร่วมมือ (Coordination) การเฝ้าระวังสอบสวนโรค (Surveillance) การตอบโต้ (Response) การเตรียมความพร้อม (Preparedness) การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) การพัฒนาศักยภาพของบุคคลากร (Human Resources) สมรรถนะของห้องปฏิบัติการ (Laboratory) www.themegallery.com

  32. Food Safety System / Framework Provincial Level Organization Level สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กลุ่มงานอาหารปลอดภัย?? Individual Level ระดับบุคคล วิเคราะห์มิติความสามารถการดำเนินงานในระดับต่างๆของจังหวัด Socio-economic and political environment Trade Policy / market environment From farm to table Regional Health Centers -ศูนย์อนามัย -ศูนย์ควบคุมโรค -ศูนย์วิทย์ -กระทรวง -กรม Education Governance Local Authorities

  33. งบประมาณ ปี ๒๕๕๗ กิจกรรมพัฒนาอาหารปลอดภัย รวม ๑๒๒.๐๔๓๒๒๐ ล้านบาท (๑) สสอป. ๑๖.๙๒๙๐๒๐ ล้านบาท (๒) สสจ. ๗๖ จังหวัด ๘๐.๙๑๖๒๐๐ ล้านบาท (๓) หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ ๒๔.๑๙๘๐๐๐ ล้านบาท

  34. กิจกรรมอาหารปลอดภัย

  35. จบการนำเสนอ

More Related