1 / 20

ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีเดี่ยว โดย ครูนวรัตน์ วิบูลย์พันธุ์

ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีเดี่ยว โดย ครูนวรัตน์ วิบูลย์พันธุ์. ระบบบัญชีเดี่ยว. หมายถึง ระบบการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ไม่ถูกต้องตาม หลักการบันทึกบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป การบันทึกบัญชีอาจเป็น ด้านเดบิตหรือเครดิตเพียงด้านเดียว ส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดเล็ก

Télécharger la présentation

ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีเดี่ยว โดย ครูนวรัตน์ วิบูลย์พันธุ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีเดี่ยวโดย ครูนวรัตน์ วิบูลย์พันธุ์

  2. ระบบบัญชีเดี่ยว หมายถึง ระบบการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ไม่ถูกต้องตาม หลักการบันทึกบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป การบันทึกบัญชีอาจเป็น ด้านเดบิตหรือเครดิตเพียงด้านเดียว ส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดเล็ก หรือเจ้าของกิจการดูแลและรับผิดชอบด้วยตนเอง

  3. สมุดบัญชีที่ใช้ในระบบบัญชีเดี่ยวสมุดบัญชีที่ใช้ในระบบบัญชีเดี่ยว • สมุดเงินสด เพื่อใช้ในการบันทึกการรับ-จ่ายเงินประจำวัน • สมุดบัญชีแยกประเภท จะเปิดเพียงบางบัญชีที่เจ้าของกิจการต้องการทราบข้อมูลเท่านั้น เช่น บัญชีลูกหนี้ บัญชีเจ้าหนี้ บัญชีทุน เป็นต้น • สมุดรายวัน บันทึกรายการที่ไม่เกี่ยวกับเงินสด เช่นการซื้อ-ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ

  4. การคำนวณกำไรขาดทุนตามระบบบัญชีเดี่ยวการคำนวณกำไรขาดทุนตามระบบบัญชีเดี่ยว การคำนวณกำไรขาดทุนตามระบบบัญชีเดี่ยวมี 2 วิธี 1. การเปรียบทุน 2. การวิเคราะห์รายละเอียดทางการค้า

  5. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ การเปรียบทุนระหว่างทุนต้นปีกับทุนปลายปี ตัวอย่างเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2552 กิจการ มีทุน 1 มกราคม 2552 50,000 บาท และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีทุน 70,000 บาท กิจการมีกำไรสุทธิ =70,000 - 50,000 = 20,000 บาท

  6. การคำนวณกำไรขาดทุน ตัวอย่าง ร้านฤดีเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2552 กิจการ มีทุนยกมา 30,000 บาท ระหว่างปีลงทุนเพิ่ม 15,000 บาท ถอนใช้ส่วนตัว 6,000 บาท เงินถอน 10,000 บาท ทุนวันที่ 31 ธันวาคม 2552 45,000 บาท จงคำนวณหากำไรหรือขาดทุนสุทธิ

  7. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ วิธีทำ ทุน 31 ธันวาคม 255245,000 บวก ถอนใช้ส่วนตัว 10,000 เงินถอน 6,00016,000 61,000 หัก ทุน 1 มกราคม 255230,000 ลงทุนเพิ่ม 15,00045,000 กำไรสุทธิ 16,000

  8. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ ตัวอย่าง ร้านดวงกมลมีทุนเมื่อวันที่ 1มกราคม 2552จำนวน 28,000 บาท ระหว่างปีลงทุนเพิ่ม 10,000 บาท ถอนใช้ส่วนตัว 5,000 บาท ทุนวันที่ 31 ธันวาคม 2552 30,000 บาท จงคำนวณหากำไรหรือขาดทุนสุทธิ

  9. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ วิธีทำ ทุน 31 ธันวาคม 2552 30,000 บวก ถอนใช้ส่วนตัว 5,000 35,000 หัก ทุน 1 มกราคม 2552 28,000 ลงทุนเพิ่ม 10,00038,000 ขาดทุนสุทธิ 3,000

  10. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ ร้านจรวยพรมีสินทรัพย์และหนี้สิน ดังนี้ 1 ม.ค. 52 31 ธ.ค. 52 สินทรัพย์ 50,000 80,000 หนี้สิน 22,000 34,000 ระหว่างปีกิจการลงทุนเพิ่ม 15,000 บาท ถอนใช้ส่วนตัว 12,000 บาท จงคำนวณหากำไรหรือขาดทุนสุทธิ

  11. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ วิธีทำ จากสมการบัญชี ทุน = สินทรัพย์ – หนี้สิน ทุน 1 มกราคม 2552= 50,000 – 22,000 = 28,000 บาท ทุน 31 ธันวาคม 2552= 80,000 – 34,000 = 46,000 บาท

  12. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ ทุน 31 ธันวาคม 2552 46,000 บวก ถอนใช้ส่วนตัว 12,000 58,000 หัก ทุน 1 มกราคม 255228,000 ลงทุนเพิ่ม15,00043,000 กำไรสุทธิ 15,000

  13. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ ร้านใจดีมีสินทรัพย์และหนี้สิน ดังนี้ 1 ม.ค. 2552 31 ธ.ค. 2552 เงินสด 33,000 42,000 ลูกหนี้ 42,000 54,000 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (900) (1,080) สินค้าคงเหลือ 28,200 24,000 วัสดุสำนักงาน 1,200 720 ค่าโฆษณาจ่ายล่วงหน้า 4,800 480

  14. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ เครื่องใช้สำนักงาน 13,800 13,800 ค่าเสื่อมราคาสะสม (5,400)(8,160) 116,700125,760 เจ้าหนี้ 18,000 15,000 เงินกู้ 10 % 50,000 40,000 68,00065,000 ระหว่างปีกิจการถอนใช้ส่วนตัว 8,000 บาท จงคำนวณหากำไรหรือขาดทุนสุทธิ

  15. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ วิธีทำ จากสมการบัญชี ทุน = สินทรัพย์ – หนี้สิน ทุน 1 มกราคม 2552 = 116,700 – 68,000 = 48,700 บาท ทุน 31 ธันวาคม 2552= 125,760 – 65,000 = 60,760 บาท

  16. การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ ทุน 31 ธันวาคม 2552 60,760 บวก ถอนใช้ส่วนตัว 8,000 68,760 หัก ทุน 1 มกราคม 2552 48,700 กำไรสุทธิ 20,060

  17. ข้อบกพร่องของระบบบัญชีเดี่ยวข้อบกพร่องของระบบบัญชีเดี่ยว 1.เมื่อมีรายการค้าเกิดขึ้นบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปแล้วอาจจะไม่มี การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท ยกเว้นบัญชีลูกหนี้และบัญชีเจ้าหนี้ 2.ไม่มีการเปิดบัญชีแยกประเภทรายได้และค่าใช้จ่าย จึงไม่สามารถจัดทำ งบทดลองและงบกำไรขาดทุนตามหลักการบัญชีคู่ 3.การบันทึกรายการเกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สินอาจจะไม่ได้บันทึกบัญชี ถ้าต้องการทราบสามารถดูได้จากสมุดบัญชีเงินสดและสมุดรายวันทั่วไป

  18. ข้อบกพร่องของระบบบัญชีเดี่ยวข้อบกพร่องของระบบบัญชีเดี่ยว 4. การบันทึกรายการที่ไม่เกี่ยวกับเงินสด เช่น การซื้อขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ ใช้วิธีการบันทึกความทรงจำ เมื่อมีการจ่ายชำระหนี้หรือรับชำระหนี้ก็จะ บันทึกรายการในสมุดเงินสด 5. การจัดทำงบกำไรขาดทุน งบทดลองจากหลักฐานตามระบบบัญชีเดี่ยว ต้องใช้การวิเคราะห์รายการจากบัญชีเงินสด เจ้าหนี้ ลูกหนี้ ทำให้มี ข้อบกพร่องหากเจ้าของกิจการลืมจดบันทึกรายการค้าหรือวิเคราะห์รายการ ผิดพลาด

  19. ข้อแตกต่างระหว่างระบบบัญชีเดี่ยวกับบัญชีคู่ข้อแตกต่างระหว่างระบบบัญชีเดี่ยวกับบัญชีคู่ ระบบบัญชีเดี่ยว - ใช้ในกิจการเจ้าของคนเดียว - ไม่ได้บันทึกบัญชีสมบูรณ์ถูกต้องตาม หลักการบัญชีที่ยอมรับกันโดยทั่วไป -เปิดบัญชีแยกประเภทไม่ครบถ้วน -ไม่สามารถเก็บตัวเลขไปจัดทำงบ ทดลองเพื่อตรวจความถูกต้องในการ บันทึกบัญชีได้ ระบบบัญชีคู่ - กิจการค้าทั่วไปตาม พ.ร.บ. 2543 - บันทึกบัญชีสมบูรณ์ถูกต้องตาม หลักการบัญชีที่ยอมรับกันโดยทั่วไป - เปิดบัญชีแยกประเภทตามหมวดบัญชี - สามารถเก็บตัวเลขไปจัดทำงบทดลอง เพื่อตรวจความถูกต้องในการบันทึก บัญชีได้

  20. ข้อแตกต่างระหว่างระบบบัญชีเดี่ยวกับบัญชีคู่ข้อแตกต่างระหว่างระบบบัญชีเดี่ยวกับบัญชีคู่ - ไม่สามารถจัดทำงบการเงินได้ทันที • สามารถจัดทำงบการเงินได้ทันที โดยการปิดบัญชีรายได้ ค่าใช้จ่ายและ ยอดคงเหลือในบัญชี

More Related