1 / 58

การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพ เพื่อรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพ เพื่อรับรองคุณภาพสถานพยาบาล จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 3-4 มกราคม 2556 สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน ). Update เครื่องมือ PKM ปี 2556.

sean-fuller
Télécharger la présentation

การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพ เพื่อรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพเพื่อรับรองคุณภาพสถานพยาบาล • จังหวัดเชียงใหม่วันที่ 3-4 มกราคม 2556สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ร่วมกับสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

  2. Update เครื่องมือ PKM ปี 2556 ท่านสามารถ download เครื่องมือ ฉบับ update ได้ที่ www.ha.or.th--> หน้าหลักแหล่งความรู้การประชุม click Provincial KM เพื่อการธำรงบันไดขั้นที่ 2

  3. แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ Hospital Accreditation (HA) คุณภาพและความปลอดภัย กระบวนการ เรียนรู้ การพัฒนาตนเอง การประเมินจากภายนอก (เยี่ยมสำรวจ) การรับรองคุณภาพ การประเมินตนเอง เป้าหมายสำคัญของ HA คือคุณภาพและความปลอดภัยสำหรับผู้รับบริการ ซึ่งจะเกิดได้ด้วยการประเมินและพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลเอง การประเมินและรับรองคุณภาพเป็นเพียงกลไกกระตุ้นเพื่อให้เกิดขับเคลื่อนการพัฒนาในโรงพยาบาล ทั้งหมดเป็นกระบวนการเรียนรู้ มิใช่การตรวจสอบ ค่านิยมและแนวคิดหลัก -HA เป็นกระบวนการเรียนรู้ -มุ่งเน้นผู้ป่วยและสุขภาพ -พัฒนาต่อเนื่อง

  4. Hospital Profile 2008 (Context, Direction, Result) 2. บริบทขององค์กร 1. ข้อมูลพื้นฐาน ก.สภาพแวดล้อมขององค์กร 2.1 ขอบเขตการให้บริการ 2.2 ประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2.3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 2.4 อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร 2.5 โครงสร้างองค์กร 2.6 ผู้ป่วยและผู้รับผลงานสำคัญ 2.7 ความสัมพันธ์กับองค์กรภายนอก ค. ความท้าทายขององค์กร 2.8 การแข่งขัน ความเติบโต ความสำเร็จ 2.9 ความท้าทายที่สำคัญ 2.10 การพัฒนาคุณภาพและการเรียนรู้ 3. ทิศทางขององค์กร พันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ จุดเน้น/เข็มมุ่ง 4. ผลการดำเนินการ (1) โรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ (2) โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา หรือมีข้อจำกัดในการให้บริการ (3) เหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนา / การเปลี่ยนแปลงนโยบาย (4) ปัญหาสำคัญที่โรงพยาบาลกำลังพยายามแก้ไข (5) ความท้าทายเชิงกลยุทธ์อื่นๆ ขององค์กร

  5. มาตรฐาน HA/HPH (2006)

  6. มาตรฐาน -> ประเมิน -> พัฒนา ทำความเข้าใจเป้าหมายของมาตรฐาน Scan ระดับการปฏิบัติที่เป็นอยู่ในแต่ละประเด็น อธิบายสถานการณ์ (ทำให้เห็นบริบทชัดเจนขึ้น) กำหนดลำดับความสำคัญ/ความเป็นไปได้ วิเคราะห์ทางระบาดวิทยา(อะไร ใคร ที่ไหน เมื่อไร) ตั้งเป้า เฝ้าดู ปรับเปลี่ยน

  7. SPA : Standards –Practice - Assessment เน้นความสำคัญของการนำมาตรฐานไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน มาตรฐานนั้นจึงจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กร การนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติสามารถทำได้ง่ายๆ “คุยกันเล่น – เห็นของจริง – อิงการวิจัย” เป็นเครื่องมือช่วยให้ รพ.เห็นแนวทางการนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และบอกแนวทางการสรุปข้อมูลสำคัญที่จะบันทึกส่งให้คณะผู้เยี่ยมสำรวจ ซึ่งจะช่วยลดภาระของ รพ.และผู้เยี่ยมสำรวจในเรื่องการจัดทำเอกสาร

  8. I – 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง (Senior Leadership) ผู้นำระดับสูงชี้นำองค์กร สื่อสารและส่งเสริมผลการดำเนินงานที่ดี ให้ความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร กำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ถ่ายทอด ปฏิบัติให้เห็นความมุ่งมั่น การสื่อสาร ให้อำนาจตัดสินใจ จูงใจ ยกย่องชมเชย 1 1 จุดเน้นที่การปฏิบัติ เพื่อปรับปรุงผลงาน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริม การปฏิบัติตามกฎหมาย การมีจริยธรรมที่ดี 2 2 ทบทวน ตัวชี้วัด สร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศเอื้อต่อ การปรับปรุงผลงานการบรรลุวัตถุประสงค์ การสร้างนวตกรรมความคล่องตัวการเรียนรู้ สัมพันธภาพ ความร่วมมือการประสานบริการ การปฏิบัติ 3 วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ ผลงานที่ดี คุณภาพ ความปลอดภัย การมุ่งเน้นผู้ป่วย สร้างและส่งเสริมวัฒนธรรม ความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย 4

  9. I-1 การนำองค์กร • วิสัยทัศน์และค่านิยม: • การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากวิสัยทัศน์ขององค์กร: • บทบาทของผู้นำในการสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อสิ่แวดล้อมและการพัฒนาและบทเรียนที่เกิดขึ้น: • บทบาทของผู้นำในการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยและบทเรียนที่เกิดขึ้น: • การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร • จุดเน้นขององค์กร และวิธีการสื่อสาร เสริมพลัง จูงใจให้นำจุดเน้นดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ:

  10. I – 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ (Strategy Development) องค์กรกำหนดกลยุทธ์ และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เพื่อตอบสนองความท้าทายขององค์กร และสร้างความเข้มแข็งให้กับการดำเนินงานขององค์กร ก. กระบวนการจัดทำกลยุทธ์ ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์ 1 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และกรอบเวลา 1 ผู้มีส่วนร่วม: ผู้นำร่วมกับบุคลากร ขั้นตอนและกรอบเวลา ความท้าทายและข้อได้เปรียบ ค้นหาจุดอ่อนสำคัญที่อาจถูกมองข้าม สอดคล้องกับความท้าทายขององค์กร 2 ตอบสนองความท้าทายที่สำคัญขององค์กร ตอบสนองสถานะสุขภาพ / ความต้องการสุขภาพ มีส่วนต่อผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูล 2 ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพ จุดแข็งจุดอ่อนโอกาสสิ่งคุกคามขององค์กร ปัจจัยสำคัญอื่นๆ - ความปลอดภัย / ความผิดพลั้ง - ความร่วมมือ การแข่งขัน - การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี - การเปลี่ยนแปลงระบบบริการ เศรษฐกิจ - ความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม จริยธรรม ความสามารถในการนำแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 3 วัตถุประสงค์เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้นของผู้ป่วยครอบครัวชุมชนบุคลากร สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี องค์กรเข้มแข็ง และยั่งยืน การนำกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ

  11. I – 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategy Deployment) องค์กรถ่ายทอดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติและติดตามความก้าวหน้า เพื่อให้มั่นใจว่าบรรลุเป้าประสงค์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ก. ถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ แผนทรัพยากรบุคคล 4 1 องค์กรเข้มแข็ง และยั่งยืน แผนปฏิบัติการ ปฏิบัติตามแผน ปรับแผน 3 ทรัพยากร 2 บรรลุเป้าประสงค์ ติดตามความก้าวหน้า 5 ตัวชี้วัดสำคัญ ทั้งองค์กรมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน ครอบคลุมประเด็นสำคัญ และผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด ข. คาดการณ์และเปรียบเทียบ คาดการณ์ผลการดำเนินงาน ตอบสนอง ความแตกต่าง เปรียบเทียบ 1

  12. I-2 การบริหารเชิงกลยุทธ์ • บริบท: ความท้าทายเชิงกลยุทธ์: ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์: ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญ: กระบวนการ: กระบวนการจัดทำกลยุทธ์: บทเรียนเกี่ยวกับกระบวนการจัดทำกลยุทธ์: บทเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลและปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการกำหนดกลยุทธ์ • บทเรียนในการติดตามความก้าวหน้า: • การคาดการณ์และเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน • บทเรียนในการตอบสนองต่อผลการดำเนินการที่ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์:

  13. I – 4.1 การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลงานขององค์กร (Measurement, Analysis and Improvement of Organizational Performance) องค์กรจัดให้มีการวัด วิเคราะห์ ปรับทิศทาง ทบทวน และปรับปรุงผลงาน โดยใช้ข้อมูลและสารสนเทศ ในทุกระดับและทุกส่วนขององค์กร ข. การวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุงผลงาน ก. การวัดผลงาน ข้อมูล/สารสนเทศ/ตัวชี้วัดผลงาน ด้านบริการ ผู้รับผลงาน การเงิน ปฏิบัติการ แนวโน้ม คาดการณ์ เปรียบเทียบ ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล วิเคราะห์ข้อมูล เลือก รวบรวม เชื่อมโยง ปรับทิศ ติดตาม งานประจำวัน ผลงานโดยรวม ความก้าวหน้า 1 ความสำเร็จขององค์กร ความก้าวหน้าตามแผน การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง 1 ประเมินผล เลือกข้อมูล เชิงเปรียบเทียบ ตัดสินใจ นวตกรรม เพื่อการปรับปรุง เพื่อสร้างนวตกรรม 2 จัดลำดับความสำคัญ 2 ถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ทั่วทั้งองค์กร ปรับปรุงระบบวัดผลงาน 3 รวมเป็นส่วนหนึ่งของการประเมิน และปรับปรุงกระบวนการสำคัญ 3 สอดคล้องกับสถานการณ์ ไวต่อการเปลี่ยนแปลง

  14. I – 4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการความรู้ (Management of Information, Information Technology, and Knowledge Management) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีข้อมูล สารสนเทศ ซอฟท์แวร์ และฮาร์ดแวร์ ที่จำเป็น มีคุณภาพ และพร้อมใช้งาน สำหรับบุคลากร / ผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน องค์กรสร้างและจัดการสินทรัพย์ความรู้ของตนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร ก. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ค. คุณภาพ ข้อมูล/ความรู้ บุคลากร/ผู้บริหาร ผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน องค์กรภายนอก ความต้องการ 1 รักษาความลับ 2 ข้อมูลพร้อมใช้ ออกแบบ จัดการ ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทันการณ์ ปลอดภัย เข้าถึง Hardware & Software 2 การดูแลผู้ป่วย การบริหารจัดการ การตรวจสอบทางคลินิก การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและการวิจัย 1 เชื่อถือได้ป้องกันข้อมูลรั่วไหลใช้งานง่าย ใช้ประโยชน์ พร้อมใช้ในภาวะฉุกเฉิน 3 ข. การจัดการความรู้ 4 ปรับปรุงกลไกและระบบ รวบรวม/ถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร ถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่ดีนำสู่การปฏิบัติ นำหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ทันความต้องการ ทิศทางบริการสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี

  15. I – 5.1 ความผูกพันของบุคลากร (Staff Engagement) องค์กรสร้างความผูกพันกับบุคลากร จัดระบบค่าตอบแทนและแรงจูงใจ เพื่อบรรลุความสำเร็จในระดับองค์กรและระดับบุคคล บุคลากรและผู้นำได้รับการพัฒนาเพื่อให้สร้างผลงานที่ดี Multiple Req. ค. การประเมิน 1 ก. การเพิ่มคุณค่าบุคลากร กำหนด (วิเคราะห์) ปัจจัยสำคัญ 2 2 ประเมินและปรับปรุง ความผูกพัน ผลงาน 3 ระบบประเมินผลงาน และพัฒนาบุคลากร (Performance Management System) รวมทั้งการบริหารค่าตอบแทน การให้รางวัล การยกย่องชมเชย และการสร้างแรงจูงใจ เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร • ความร่วมมือ การสื่อสารและการแบ่งปันทักษะ • การกระจายข้อมูลข่าวสารและการสื่อสารกับผู้บริหาร • เป้าหมายระดับบุคคล ให้อำนาจตัดสินใจ ความคิดริเริ่ม • นวตกรรม • ใช้ประโยชน์จากข้อคิดที่หลากหลาย 1 ผูกพัน พึงพอใจ ความสำเร็จ ขององค์กร และบุคคล โอกาส/รูปแบบ การพัฒนา ที่หลากหลาย ถ่ายทอดความรู้จากผู้ที่ออกจากองค์กร ความรู้ ทักษะ ความสามารถ หนุนเสริมการใช้ความรู้/ทักษะใหม่ๆ ผลงานดี 4 ยืดหยุ่น มีนวตกรรม แบ่งปันความรู้ทักษะ สื่อสารดี กระจายสารสนเทศดี เน้นเป้าหมายองค์กร มุ่งเน้นผู้ป่วย -ความก้าวหน้าในอาชีพการงาน -สร้างผู้บริหาร และผู้นำ สมดุล: องค์กรและบุคลากร ข้อมูลจากบุคลากร ข้อมูลจากหัวหน้า/ผู้บริหาร ข้อกำหนดของวิชาชีพ คุณภาพ ความปลอดภัย การสร้างเสริมสุขภาพ การเรียนรู้ /สินทรัพย์ความรู้ Core Competency ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ การปรับปรุงผลงาน เทคโนโลยี นวตกรรม จริยธรรม คุณสมบัติ การเป็นผู้นำ การพัฒนา ความรู้ของ องค์กร 3 ประเมินประสิทธิผล การพัฒนาและเรียนรู้ 1 บุคลากร 2 ข. การพัฒนาบุคลากรและผู้นำ ผู้นำ

  16. I – 5.2 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Staff Environment) องค์กรบริหารขีดความสามารถและอัตรากำลัง เพื่อให้งานขององค์กรบรรลุผลสำเร็จ องค์กรจัดให้มีสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้บุคลากรมีสุขภาพดี และมีความปลอดภัย ก. ขีดความสามารถและความเพียงพอ ขีดความสามารถ อัตรากำลัง ประเมินความต้องการ กำหนด/มอบหมายหน้าที่ 1 ค. สุขภาพบุคลากร สรรหา ว่าจ้าง จัดวาง ธำรงรักษา ตรวจสอบ/ประเมินคุณสมบัติ 2 1 เรียนรู้ ตัดสินใจ ปฏิบัติ ดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ประโยชน์จากความเชี่ยวชาญพิเศษขององค์กร, มุ่งเน้นผู้ป่วย, ผลงานเป็นไปตามความคาดหวัง, คล่องตัว 2 มีข้อตกลงร่วมกัน เป็นแบบอย่างพฤติกรรม 3 บริหาร/จัดระบบ บุคลากร 3 ป้องกันความเสี่ยงจากการทำงาน 4 เตรียมให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง TB, HBV, HIV, Sharp Inj, Lab Chemicals, Anesthetic Gas, Chemotherapeutic Agent 4 ประเมินสุขภาพเมื่อแรกเข้าทำงาน ข. บรรยากาศในการทำงาน ความสำเร็จ ขององค์กร 5 ตรวจสุขภาพเป็นระยะ ที่ทำงานเอื้อต่อสุขภาพ/ ความปลอดภัย 1 6 ได้รับภูมิคุ้มกันโรค สุขภาพดี ปลอดภัย นโยบาย การจัดบริการ สิทธิประโยชน์ 7 ดูแลเมื่อเจ็บป่วย/สัมผัสเชื้อ 2 ดูแลและเกื้อหนุน

  17. II – 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ (Risk, Safety, and Quality Management System) มีระบบบริหารความเสี่ยงความปลอดภัยและคุณภาพของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกันรวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย 1 ประสาน ระบบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง และระบบสารสนเทศ 6 ประเมิน ประสิทธิผล ปรับปรุง แก้ปัญหา 3 5 4 ค้นหาและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง กำหนดมาตรการป้องกัน, สื่อสาร, สร้างความตระหนัก ระบบรายงานอุบัติการณ์ รายงาน วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ วิเคราะห์สาเหตุ 2 1 พัฒนาคุณภาพการดูแล สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทบทวนการดูแลผู้ป่วย กำหนดกลุ่ม/วัตถุประสงค์ กำหนด KPI ใช้วิธีการที่หลากหลาย 2 ข. คุณภาพการดูแลผู้ป่วย 3 4

  18. II – 3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย (Physical Environment and Safety) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพขององค์กรเอื้อต่อความปลอดภัยและความผาสุกของผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ และผู้มาเยือน องค์กรสร้างความมั่นใจว่าผู้อยู่ในพื้นที่อาคารสถานที่จะปลอดภัยจากอัคคีภัย วัสดุและของเสียอันตราย หรือภาวะฉุกเฉินอื่นๆ ก. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ ค. การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน 1 โครงสร้างอาคารสถานที่ 1 วิเคราะห์ ระบบบริหารอาคารสถานที่และ รปภ. การตรวจสอบเพื่อค้นหาความเสี่ยง 3 2 2 ทำแผน -> ปฏิบัติ การฝึกซ้อม 3 การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม 4 5 การฝึกอบรม ง. ความปลอดภัยจากอัคคีภัย จัดทำแผนและนำไปปฏิบัติ 1 ข. วัสดุและของเสียอันตราย ความปลอดภัย ความผาสุก ของผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่ สร้างความตระหนัก/ฝึกซ้อม 2 กระบวนการที่ปลอดภัย เลือก สัมผัส จัดเก็บ เคลื่อนย้าย ใช้ กำจัด บำรุงรักษาระบบและเครื่องมือ 3

  19. II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ • ผลการตรวจสอบและการปรับปรุงโครงสร้างอาคารสถานที่ให้เป็นไปตามกฏหมาย เอื้อต่อความปลอดภัย/ประสิทธิภาพ • ระบบบริหารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย • การตรวจสอบความเสี่ยง/การปฏิบัติที่ไม่ปลอดภัย (ความถี่ สิ่งที่พบ การปรับปรุง) • ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญและการป้องกัน

  20. II – 3.2 เครื่องมือและระบบสาธารณูปโภค (Equipment and Utility System) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีเครื่องมือที่จำเป็น พร้อมใช้งานทำหน้าที่ได้เป็นปกติ และมีระบบสาธารณูปโภคที่จำเป็นอยู่ตลอดเวลา ก. เครื่องมือ ข. ระบบสาธารณูปโภค แผนบริหารเครื่องมือ -> ปฏิบัติ (ได้ผล ปลอดภัย เชื่อถือได้) คัดเลือก / จัดหา, จัดทำบัญชีรายการ, ตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา, ให้ความรู้ผู้ใช้, แนวทางปฏิบัติเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน แผนบริหารระบบสาธารณูปโภค -> ปฏิบัติ (ได้ผล ปลอดภัย เชื่อถือได้) จัดทำบัญชีรายการ, แผนผังตำแหน่งที่ตั้ง, ตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา, แนวทางปฏิบัติฉุกเฉิน, ระบบปรับและระบายอากาศ 1 1 ระบบไฟฟ้าสำรองในจุดที่จำเป็น บำรุงรักษา ทดสอบ ตรวจสอบ เครื่องมือที่จำเป็นมีความพร้อมใช้ 2 2 ติดตามข้อมูลเพื่อปรับปรุง / จัดหาทดแทน 3 3 ติดตามข้อมูลเพื่อปรับปรุง / จัดหาทดแทน ระบบที่พร้อมใช้การ เชื่อถือได้ ปลอดภัย

  21. II – 3.3 สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม (Environment for Health Promotion and Environment Protection) องค์กรแสดงความมุ่งมั่นในการที่จะทำให้โรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยและเอื้อต่อสุขภาพ เอื้อต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ก. การสร้างเสริมสุขภาพ ข. การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ขนาดเหมาะสม ผู้ดูแลมีความรู้ ตรวจคุณภาพน้ำ น้ำทิ้งมีค่ามาตรฐาน สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 1 1 สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะ 2 ลดปริมาณของเสีย นำมาใช้ใหม่ ลดปริมาณการใช้ แปรรูป ลดการใช้วัสดุที่ทำลายสิ่งแวลด้อม 2 3 การเข้าถึงผลิตภัณฑ์สร้างเสริมสุขภาพ 4 ใช้วัสดุครุภัณฑ์ที่ไม่มีอันตรายต่อสุขภาพ กำจัดขยะถูกสุขลักษณะ ภาชนะ แยกรับ ขนย้าย ที่พักขยะ กระบวนการกำจัด ฝึกอบรม ตรวจสอบ 3 รพ.เป็นสถานที่ที่ปลอดภัย เอื้อต่อสุขภาพ เอื้อต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม พิทักษ์ ปกป้อง ปรับปรุง สิ่งแวดล้อม ร่วมมือกับชุมชน ประเมินและรับฟังเสียงสะท้อน 4

  22. II – 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Prevention and Control) 4.3 องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล การติดเชื้อ ต่ำที่สุด 4.2 องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล 4.1 ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อขององค์กร ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมได้รับการสนับสนุนทรัพยากรเพียงพอและมีการประสานงานที่ดี

  23. II – 4.1ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Prevention and Control Program) ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อขององค์กร ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรเพียงพอและมีการประสานงานที่ดี ข. การจัดการและทรัพยากร ก. การออกแบบระบบ 1 คณะกรรมการ IC กำกับดูแล กำหนดนโยบาย/มาตรการ วางแผน ประสานงาน ติดตามประเมินผล ความรู้ การปฏิบัติ กฎหมาย ICN 2 3 ครอบคลุม 4 การติดเชื้อ ต่ำที่สุด การดำเนินงาน ป้องกันและควบคุม 1 เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ มาตรการ ประสานกับระบบคุณภาพ บริบท ขนาด บริการ ผู้ป่วย 5 ทรัพยากรเพียงพอ 3 ระบบสารสนเทศสนับสนุน ประสานสู่การปฏิบัติทั้งองค์กร 2 4 6 การติดเชื้อสำคัญจุดเน้นในการป้องกัน ฝึกอบรมบุคลากร 5 เสริมพลังชุมชน 6

  24. II – 4.2 ปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อ (Infection Prevention) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล ติดตามประเมินผล Standard Precaution Clean/disinfect/sterilize Infectious waste Hand hygiene กลยุทธ์เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อ 1 ออกแบบระบบ โครงสร้างอาคาร, การระบายอากาศ, ที่ล้างมือ ควบคุมสิ่งแวดล้อม 2 ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยง OR, LR, ICU, ซักฟอก, จ่ายกลาง, ครัว, กายภาพบำบัด, เก็บศพ การติดเชื้อ ต่ำที่สุด จัดการ 3 SSI, VAP, CAUTI, IV infection, BSI, Sepsis ป้องกันการติดเชื้อสำคัญ 4 ผู้ป่วยที่ติดเชื้อทางเลือด, ภูมิต้านทานต้ำ, เชื้อดื้อยา, การติดเชื้ออุบัติใหม่ การดูแลผู้ป่วย ที่มีความซับซ้อน 5 ทรัพยากรสนับสนุน

  25. II – 4.3 การเฝ้าระวัง ติดตามกำกับ และควบคุมการระบาด (Surveillance, Monitoring, and Outbreak Control) องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ออกแบบระบบ การจัดการ และทรัพยากร การป้องกันการติดเชื้อ 4 ก. การเฝ้าระวังและติดตามกำกับ ใช้สารสนเทศ วางแผน ค้นหาการระบาด ให้ความรู้ ปรับปรุงระบบ แก้ปัญหาผู้ปวยเฉพาะราย การติดเชื้อ ต่ำที่สุด Active ongoing prospective surveillance 1 Monitor of other serious NI 2 ข. การควบคุมการระบาด ติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพและความไวของเชื่อ 3 1 บ่งชี้การระบาด ร่วมมือกับภายนอก ค้นหาและตอบสนองต่อการอุบัติของเชื้อโรคใหม่และเชื่อโรคดื้อยา 5 2 สืบค้นและควบคุม

  26. II – 4.3 การเฝ้าระวัง ติดตามกำกับ และควบคุมการระบาด (Surveillance, Monitoring, and Outbreak Control) องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ออกแบบระบบ การจัดการ และทรัพยากร การป้องกันการติดเชื้อ 4 ก. การเฝ้าระวังและติดตามกำกับ ใช้สารสนเทศ วางแผน ค้นหาการระบาด ให้ความรู้ ปรับปรุงระบบ แก้ปัญหาผู้ปวยเฉพาะราย การติดเชื้อ ต่ำที่สุด Active ongoing prospective surveillance 1 Monitor of other serious NI 2 ข. การควบคุมการระบาด ติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพและความไวของเชื่อ 3 1 บ่งชี้การระบาด ร่วมมือกับภายนอก ค้นหาและตอบสนองต่อการอุบัติของเชื้อโรคใหม่และเชื่อโรคดื้อยา 5 2 สืบค้นและควบคุม

  27. II – 6.1 การวางแผน การจัดการ การเก็บและสำรองยา (Medication Planning, Management, and Storage) องค์กรสร้างความมั่นใจในระบบการจัดการด้านยาที่ปลอดภัย เหมาะสม และได้ผล พร้อมทั้งการมียาที่มีคุณภาพสูงพร้อมใช้สำหรับผู้ป่วย ก. การวางแผนและการจัดการ ข. การเก็บและสำรองยา 1 2 3 บัญชียาโรงพยาบาล จำกัดรายการ มาตรการความปลอดภัยสำหรับยาใหม่และยานอกบัญชี จัดหายา ยาในบัญชี ยาขาดแคลน ยาจำเป็นเร่งด่วน การเก็บ/สำรองยา เพียงพอ มีคุณภาพ คงตัว พร้อมใช้ 4 ยา/เวชภัณฑ์ฉุกเฉินในหน่วยดูแลผู้ป่วย ควบคุม ทดแทน ลดความเสี่ยงในการใช้ยา ระบุยา ออกแบบกระบวนการ 4 คณะกรรมการ สหสาขาวิชาชีพ กำหนดทิศทาง ส่งเสริมระบบที่มีประสิทธิภาพ 1 การจัดการกับยาที่ถูกส่งคืน 2 ระบบจ่ายยาเมื่อห้องยาปิด 3 นโยบายป้องกัน ME/ADE 5 ตอบสนอง ME/ADE อย่างเหมาะสม ยาที่มีคณภาพสูง พร้อมใช้ สื่อสาร ให้ความรู้ 6 การใช้ยา ประเมินและปรับปรุง 7

  28. II – 6.2 การใช้ยา (Medication Use) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีการสั่งใช้ยาและการให้ยา ที่ปลอดภัย ถูกต้อง เหมาะสม และได้ผล ก. การสั่งใช้ยาและถ่ายทอดคำสั่ง ข. การเตรียม จัดจ่าย และให้ยา 10 Drug Reconcile รับใหม่ ย้าย จำหน่าย ยาที่ผู้ป่วยนำมา 5 ข้อมูลผู้ป่วย ทั่วไป โรค lab 4 ส่งมอบให้ หน่วยดูแลผู้ป่วย 1 1 ทบทวน คำสั่ง เหมาะสม ปลอดภัย ตรวจสอบ คำสั่งใช้ยา ชัดเจน เหมาะสม ข้อมูลยา 2 7 2 จัดเตรียม ให้ยาแก่ผู้ป่วย 4 9 สื่อสาร/ ถ่ายทอดคำสั่ง ถูกต้อง มีมาตรฐาน นโยบาย ป้องกัน ME/ADE 3 ผู้ป่วยได้รับข้อมูล มีส่วนร่วม ติดตามผล บันทึก ติดฉลาก 3 8 ตรวจสอบ ความถูกต้อง ส่งมอบให้ผู้ป่วย 5 7 เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ความคลาดเคลื่อนทางยา สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สะอาด พื้นที่ แสงสว่าง ไม่รบกวน รายงาน 6

  29. II – 7.1 ข้อกำหนดทั่วไป สำหรับการตรวจทดสอบประกอบการวินิจฉัยโรค บริการตรวจทดสอบประกอบการวินิจฉัยโรคให้ข้อมูลสำหรับการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ โดยมีอันตรายต่อผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่น้อยที่สุด ก. การวางแผน ทรัพยากร และการจัดการ ข. การบริการ ทรัพยากรบุคคล 2 พื้นที่ใช้สอย และสิ่งแวดล้อม การตรวจที่กระทำกับผู้ป่วย เตรียม ประเมิน ให้ข้อมูล 3 1 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ บำรุงรักษา สอบเทียบ 4 วางแผน แปลผลการตรวจ หน่วยทดสอบที่รับตรวจต่อ ประเมิน คัดเลือก ติดตาม 5 บันทึก 2 เครื่องมือ วัสดุ น้ำยา คัดเลือก จัดหา คงคลัง 6 สื่อสาร สื่อสารกับผู้ใช้ 7

  30. II – 7.2 ก. ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ / พยาธิวิทยาคลินิก ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ มีกระบวนการตรวจวิเคราะห์และระบบบริหารคุณภาพ ที่เป็นหลักประกันว่าจะให้ผลการตรวจที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ระบบบริหารคุณภาพ การชี้บ่งปัญหา / โอกาสพัฒนา บันทึกความผิดพลาดและการรายงานอุบัติการณ์ การติดตามตัวชี้วัดการแก้ไข / ป้องกันปัญหา การติดตามปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจวิเคราะห์ การควบคุมเอกสารเป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วย การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรม / ระบบบริหารคุณภาพ 2 1 การทดสอบความชำนาญ (Proficiency Test) verify Input น้ำยา เครื่องมือ เครื่องวิเคราะห์ การตรวจวิเคราะห์ วิธีการทดสอบมาตรฐาน เหมาะสม ได้รับการ validate 5 ผลการตรวจ ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ สิ่งส่งตรวจ เก็บสัมผัสชี้บ่งบรรจุ เขียนฉลากรักษาความคงตัวใบส่งตรวจขนส่งเก็บรักษา ประเมินคุณสมบัติ 4 การวางแผน ทรัพยากร การจัดการ สิ่งส่งตรวจ เก็บเพื่อตรวจเพิ่มเติม กำจัดอย่างปลอดภัย 7 รายงานผล การรักษาความลับ การรายงานค่าวิกฤติ การสืบค้นสำเนาข้อมูล 6 การควบคุมคุณภาพ 3

  31. II – 7.2 ข. คลังเลือด องค์กรนำมาตรฐานงานบริการโลหิตและธนาคารเลือด ที่จัดทำโดยศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ นโยบายทั่วไป ผู้รับผิดชอบ ระบบคุณภาพ ความปลอดภัย การคัดเลือก ผู้บริจาคโลหิต คุณสมบัติ การประเมินความเสี่ยง การให้ข้อมูล การเตรียม ส่วนประกอบของโลหิต หลักการ โลหิตรวม เม็ดโลหิตแดง พลาสมา เกล็ดโลหิต การให้โลหิตแก่ผู้ป่วย การเจาะเก็บโลหิต ป้องกันการปนเปื้อน เก็บตัวอย่างโลหิต ปริมาณ อุณหภูมิ การดูแลผู้บริจาค การทดสอบโลหิตบริจาค ABO, Rh, other Ab ตรวจเพื่อป้องกันโรคติดต่อ การเฝ้าระวังปฏิกิริยาจากการให้โลหิต การตอบสนอง

  32. II – 7.2 ค. บริการรังสีวิทยา และ Medical Imaging อื่นๆ บริการรังสีวิทยาและ Medical Imaging ให้ภาพวินิจฉัยที่มีคุณภาพและการวินิจฉัยโรค ที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ โดยมีอันตรายต่อผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่น้อยที่สุด ระบบบริหารคุณภาพ การควบคุมคุณภาพของเครื่องมือ แผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยและแพทย์เจ้าของไข้ การป้องกันและติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยง การทบทวนแผนงานบริหารคุณภาพประจำปี 6 สถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ เป็นไปตามมาตรฐาน ได้รับการตรวจสอบ การป้องกันอันตรายจากรังสี ตรวจวัด จัดพื้นที่ กำจัดสาร กาก และขยะรังสี 2 1 การวางแผน ทรัพยากร การจัดการ 4 การตรวจทางรังสีวิทยา การจัดตำแหน่ง การตั้งค่า การเขียน label ข้อบ่งชี้และการสื่อสาร แนวทางขององค์กรวิชาชีพ และหลักฐานวิชาการ 3 ผลการตรวจ ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ การอ่านผล การทบทวนการอ่านผล ระบบปรึกษารังสีแพทย์ ผู้ทำการตรวจรักษา ทางรังสี 5 ระบบบริหารคุณภาพ การควบคุมคุณภาพของกระบวนการถ่ายภาพและล้างฟิล์ม การทบทวนอุบัติการณ์และการหาโอกาสพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 6

  33. II – 9.1 การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับชุมชน (Health Promotion for the Community) ทีมผู้ให้บริการร่วมมือกับชุมชน จัดให้มีบริการสร้างเสริมสุขภาพที่สนองตอบต่อความต้องการของชุมชนที่รับผิดชอบ กำหนดชุมชนที่รับผิดชอบ ชุมชนทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์ 1 วางแผนและออกแบบ บริการสร้างเสริมสุขภาพ ร่วมกับชุมชน กลุ่มสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยง กลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ ประเมินความต้องการ/ศักยภาพของชุมชน เก็บข้อมูลสุขภาพของชุมชน 2 การดูแลสุขภาพ การช่วยเหลือสนับสนุน การส่งเสริมการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะสุขภาพ การชี้ประเด็นนโยบายสาธารณะ การสร้างเครือข่าย กำหนดกลุ่มเป้าหมายสำคัญ 3 ร่วมมือกับองค์กร และผู้ให้บริการอื่นๆ จัดบริการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับชุมชน ประเมินและปรับปรุง 4

  34. II – 9.2 การเสริมพลังชุมชน (Community Empowerment) ทีมผู้ให้บริการทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาความสามารถของชุมชน ในการปรับปรุงสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน องค์กรร่วมมือกับชุมชน ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของชุมชน การสร้างเครือข่าย การเป็นคู่พันธมิตร ส่งเสริมพฤติกรรมและทักษะสุขภาพส่วนบุคคล ลดพฤติกรรมเสี่ยง ปกป้องบุคคลจากความเสี่ยง พฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งเสริมความสามารถของชุมชน รับรู้ยอมรับสนับสนุนปรับใช้ร่วมดำเนินการ 1 3 4 ชี้แนะและสนับสนุนนโยบายสาธารณะ สร้างความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนสารสนเทศ ร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้อง ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งปนเปื้อนทางกายภาพและสารเคมี อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สันทนาการ การพักผ่อน บริการช่วยเหลือทางสังคม สิ่งแวดล้อมทางช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม สร้างเครือข่ายทางสังคม ความเป็นอยู่ที่ดีในที่ทำงาน และชุมชน สังคม 2 5 6 ปรับปรุงสุขภาพ ความเป็นอยู่ที่ดี ของชุมชน

  35. ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III - 1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III - 4 การดูแลผู้ป่วย III - 6 การดูแลต่อเนื่อง III - 3.1 วางแผนดูแลผู้ป่วย III - 2 การประเมินผู้ป่วย III - 5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง III - 3.2 วางแผนจำหน่าย

  36. Hospital Profile 2008 (Context, Direction, Result) 2. บริบทขององค์กร 1. ข้อมูลพื้นฐาน ก.สภาพแวดล้อมขององค์กร 2.1 ขอบเขตการให้บริการ 2.2 ประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2.3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 2.4 อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร 2.5 โครงสร้างองค์กร 2.6 ผู้ป่วยและผู้รับผลงานสำคัญ 2.7 ความสัมพันธ์กับองค์กรภายนอก ค. ความท้าทายขององค์กร 2.8 การแข่งขัน ความเติบโต ความสำเร็จ 2.9 ความท้าทายที่สำคัญ 2.10 การพัฒนาคุณภาพและการเรียนรู้ 3. ทิศทางขององค์กร พันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ จุดเน้น/เข็มมุ่ง 4. ผลการดำเนินการ (1) โรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ (2) โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา หรือมีข้อจำกัดในการให้บริการ (3) เหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนา / การเปลี่ยนแปลงนโยบาย (4) ปัญหาสำคัญที่โรงพยาบาลกำลังพยายามแก้ไข (5) ความท้าทายเชิงกลยุทธ์อื่นๆ ขององค์กร

  37. Clinical tracer Highlight ใช้โรคเป็นตัวตามรอยเพราะใช้ติดตามและสื่อสารได้ชัดเจน การตามรอยทำให้เห็นของจริง (Genbutsu) การตามรอยทำให้เห็นการเชื่อมต่อ (Systems Approach) การตามรอยเน้นการดูตลอดสายธารแห่งคุณค่า(Lean) คือการประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วย โรคใดโรคหนึ่ง ในทุกแง่ทุกมุม Highlight บริเวณที่แสงสว่างจ้าที่สุดบนเวที เหตุการณ์ที่สำคัญ Clinical (Tracer) Highlight เนื้อหาที่เป็นประเด็นสำคัญในการดูแลโรคที่ทีมงานตามรอย

  38. Clinical tracer highlight • การดูแลผู้ป่วย...... • เครื่องชี้วัดสำคัญ/เป้าหมายการพัฒนา • บริบท • ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ • กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ • แผนการพัฒนาต่อเนื่อง

  39. Proxy Disease การดูคุณภาพในแต่ละขั้นตอนของการดูแลต้องหารูปธรรม แต่ละโรคมีจุดสำคัญคุณภาพในขั้นตอนการดูแลแตกต่างกัน เริ่มจากขั้นตอนการดูแล แล้วหาโรคตัวแทนขั้นตอนนั้น แต่ละขั้นตอนจะมีหลายโรค คือการประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วย ขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง โดยโรคหลายๆ โรค

  40. Proxy Disease COPD Discharge Care & Empower Assess Plan DM Stroke AMI

  41. มิติคุณภาพใด ที่ผู้ป่วยให้ความสำคัญสูง Accessibility การเข้าถึง Appropriateness ความเหมาะสม Competency ความสามารถ Continuity ความต่อเนื่อง Coverage ความครอบคลุม Effectiveness ประสิทธิผล Efficiency ประสิทธิภาพ Equity ความเป็นธรรม Humanized/Holistic องค์รวม/ดูแลด้วยหัวใจ Responsiveness การตอบสนอง Safety ความปลอดภัย Timeliness ความรวดเร็ว/ทันการ

  42. III – 1. การเข้าถึงและเข้ารับบริการ (Access & Entry) ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าผู้รับบริการสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ง่ายกระบวนการรับผู้ป่วยเหมาะกับปัญหาสุขภาพ/ความต้องการของผู้ป่วยทันเวลา มีการประสานงานที่ดี ภายใต้ระบบและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล ส่งต่อ ช่วยเหลือเบื้องต้น อธิบายเหตุผล, หาที่ส่งต่อ ดูแลฉุกเฉิน เร่งด่วน การเข้าถึง การลดอุปสรรค กายภาพ, ภาษา, วัฒนธรรม 2 3 4 รับไว้ในหน่วยบริการวิกฤติ/พิเศษ เกณฑ์เข้าหน่วยบริการวิกฤติ ประเมินผู้ป่วย เบื้องต้น ประเมินความ สามารถขององค์กร ตอบสนองรวดเร็ว 1 รับไว้ในหน่วยบริการทั่วไป ให้ข้อมูล สภาพความเจ็บป่วย การดูแลที่จะได้รับ ผลลัพธ์และค่าใช้จ่าย การให้ข้อมูล และการเสริมพลัง ผู้ป่วยเข้ารับบริการ ทันเวลา เหมาะสม มีประสิทธิผล 5 ได้รับการยินยอม

  43. III – 2. การประเมินผู้ป่วย (Patient Assessment) ผู้ป่วยทุกรายได้รับการประเมินความต้องการและปัญหาสุขภาพอย่างถูกต้อง ครบถ้วนและเหมาะสม ดูแลตามแผน ความร่วมมือและการ ประสานในทีมงาน ประเมินซ้ำ ก. การประเมินผู้ป่วย 5 3 วิเคราะห์ เชื่อมโยง 2 ประเมินแรกรับ ประวัติ,ตรวจร่างกาย,การรับรู้ความต้องการ,ปัจจัยด้านจิตใจสังคมเศรษฐกิจ ปัญหา/ความต้องการ เร่งด่วน/สำคัญ ผู้ป่วย อายุ, ปัญหาสุขภาพ, ความเร่งด่วน, การศึกษา, บริการที่จะให้ วางแผน 1 บันทึก 4 การวินิจฉัยโรค แนวปฏิบัติทางคลินิก ข. การตรวจประกอบ การวินิจฉัยโรค ค. การวินิจฉัยโรค อธิบายผล สิ่งแวดล้อมปลอดภัย 6 การส่งตรวจ/ส่งต่อ 1 ทบทวน ทรัพยากร เทคโนโลยี, บุคลากร, เครื่องมือ, อุปกรณ์, ความน่าเชื่อถือ 2 หาสาเหตุของความผิดปกติ 4 การสื่อสาร 3

  44. III – 3.1 การวางแผนการดูแลผู้ป่วย (Planning of Care) ทีมผู้ให้บริการจัดทำแผนการดูแลผู้ป่วยที่มีการประสานกันอย่างดีและมีเป้าหมายที่ชัดเจนสอดคล้องกับปัญหา/ความต้องการด้านสุขภาพของผู้ป่วย การประเมิน 2 การเชื่อมโยงและประสานงาน ในการวางแผน 5 เป้าหมาย บริการ แผนการดูแลผู้ป่วย องค์รวม เหมาะสม 1 ปฏิบัติ ใช้หลักฐานวิชาการ 3 สื่อสาร/ ประสานงาน ผู้ป่วย/ครอบครัว มีส่วนร่วม 6 เฝ้าระวัง 4 ทบทวน ปรับแผน 7 ผู้ป่วย/ครอบครัวได้รับข้อมูล

  45. ประยุกต์ตอบประเมินตนเอง 3 ประเด็น 3 บรรทัด ทำอะไร • รพ.ได้ปรับปรุงการรับส่งเวรใน รพ. ด้วยการโดยใช้แนวคิด Lean เพื่อลดระยะเวลาในการรับส่งเวรและเพิ่มคุณค่าในกิจกรรมดังกล่าวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการรับส่งเวรที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดระยะเวลาส่งเวร และสามารถสื่อสารข้อมูลในการรักษาพยาบาลระหว่างทีมได้ครบถ้วน และผู้ป่วยมีความพึงพอใจ ทำอย่างไร ผลเป็นอย่างไร สอดคล้องมาตรฐาน III-3-1(6) การนำแผนการดูแล ,III-4-1 (6) การสื่อสาร ความต่อเนื่อง

  46. III – 3.2 การวางแผนจำหน่าย (Discharge Planning) มีการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองและได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการหลังจากจำหน่ายจากโรงพยาบาล แพทย์พยาบาล วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ผู้ป่วยและครอบครัว 1 2 กำหนดแนวทาง ข้อบ่งชี้ โรคกลุ่มเป้าหมาย ประเมิน ความจำเป็น การมีส่วนร่วม 3 ผู้ป่วย/ครอบครัว มีศักยภาพและ มั่นใจในการ ดูแลตนเอง ประเมินปัญหา/ความต้องการ ที่จะเกิดหลังจากจำหน่าย แผนจำหน่าย ประเมินซ้ำ ปฏิบัติตามแผน 4 5 เชื่อมโยงกับแผนการดูแล ใช้หลักการเสริมพลัง 6 ประเมินผล ปรับปรุง

  47. III - 4.1 การดูแลทั่วไป (General Care Delivery) ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าจะให้การดูแลผู้ป่วยอย่างทันท่วงทีปลอดภัยเหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ อุบัติเหตุ การบาดเจ็บ การติดเชื้อ ดำเนินการเพื่อ ความปลอดภัย มอบความรับผิดชอบให้ ผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม 3 1 ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างทันท่วงที ปลอดภัย เหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพ จัดการกับภาวะแทรกซ้อน วิกฤติฉุกเฉิน หลักปฏิบัติ ซึ่งเป็นที่ยอมรับ 4 ดูแลแบบองค์รวม 5 สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการดูแลที่มีคุณภาพ 2 สื่อสาร/ประสาน ภายในทีม เพื่อการดูแลที่ต่อเนื่อง 6 ติดตามกำกับ ประเมินผล

  48. III - 4.2 การดูแลผู้ป่วยและการให้บริการที่มีความเสี่ยงสูง (Care of High-Risk Patients and Provision of High-Risk Services) ทีมผู้ให้บริการสร้างความมั่นใจว่าจะให้การดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงและให้บริการที่มีความเสี่ยงสูงอย่างทันท่วงทีปลอดภัยเหมาะสมเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ บ่งชี้ผู้ป่วย และบริการ ที่เสี่ยงสูง จัดทำ แนวทาง การดูแล ฝึกอบรม ปฏิบัติ 2 1 ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ได้รับการดูแลอย่างปลอดภัย แก้ไข ทำหัตถการเสี่ยง ในสถานที่ เครื่องมือ ผู้ช่วย ที่พร้อม เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง 3 ปรับแผน การดูแล 4 ตอบสนองต่อผู้ปวย ที่มีอาการทรุดลงหรือเข้าสู่ภาวะวิกฤติ 5 ประเมิน stabilize สื่อสาร ให้ความรู้ เคลื่อนย้าย 6 ติดตาม/วิเคราะห์ ภาวะแทรกซ้อน/ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ปรับปรุง

  49. III - 5. การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว (Information and Empowerment for Patients / Families) ทีมผู้ให้บริการให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพแก่ผู้ป่วย / ครอบครัว และจัดกิจกรรมที่วางแผนไว้เพื่อเสริมพลังผู้ป่วย / ครอบครัวให้มีความสามารถและรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของตนเอง รวมทั้งเชื่อมโยงการสร้างเสริมสุขภาพเข้าในทุกขั้นตอนของการดูแล 2 1 ให้ข้อมูล ช่วยเหลือ การเรียนรู้ ประเมิน การรับรู้ วางแผน กิจกรรม การเรียนรู้ ประเมิน ผู้ป่วย/ครอบครัว สามารถดูแล สุขภาพ ของตนเองได้ ให้ความช่วยเหลือ ด้านอารมณ์ จิตใจ ให้คำปรึกษา ปัญหา ความต้องการ อารมณ์จิตใจ ศักยภาพ ความพร้อม 3 กำหนดกลยุทธ์ การดูแลตนเอง ติดตามปัญหา อุปสรรค 4 5 เสริมทักษะ 6 ปรับปรุง ประเมิน

More Related