1 / 31

บรรยายโดย นางกฤติกา ปั้นประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย กรมศุลกากร

โครงการสัมมนาเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการเปิดเสรีทางการค้าของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน หัวข้อ : มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการค้าและการขนส่งข้ามแดน จัดโดย สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) วันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมเทศบาลนครแม่สอด. บรรยายโดย

selena
Télécharger la présentation

บรรยายโดย นางกฤติกา ปั้นประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย กรมศุลกากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสัมมนาเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการเปิดเสรีทางการค้าของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านโครงการสัมมนาเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการเปิดเสรีทางการค้าของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน หัวข้อ : มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการค้าและการขนส่งข้ามแดน จัดโดย สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) วันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมเทศบาลนครแม่สอด บรรยายโดย นางกฤติกา ปั้นประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย กรมศุลกากร 1

  2. กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

  3. World-class customs for national competitiveness and social protection TRUST

  4. กลุ่มประเทศอาเซียน มีเป้าหมายในการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจเพื่อเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในปี พ.ศ. 2558

  5. สิ่งที่เกี่ยวข้องกับศุลกากรสิ่งที่เกี่ยวข้องกับศุลกากร 1. ภาษีศุลกากร 2. วิธีการเคลื่อนย้ายสินค้า 3. พิธีการศุลกากร 4. ข้อห้าม ข้อกำกัดต่างๆ

  6. ภาษีศุลกากร 1. สินค้าของอาเซียนด้วยกัน จะลด/ยกเว้นภาษีตาม AFTA (ปัจจุบัน เรียก ATIGA) โดยสินค้าต้องได้ถิ่นกำเนิดอาเซียนภายใต้ Rules of Origin ที่กำหนดคือ CTSH หรือ Local content/Value Added 40% ของราคา F.O.B. 2. สินค้านอกกลุ่ม ยังคงเก็บภาษีตามปกติ เว้นแต่ สินค้าภายใต้ FTA แต่ละฉบับ จะเป็นไปตามนั้น 3. ถ้าเป็นสินค้าผ่านแดนจะไม่เก็บภาษี

  7. แผนที่ประเทศภาคีความตกลงเขตการค้าเสรีแผนที่ประเทศภาคีความตกลงเขตการค้าเสรี ASEAN-Japan ASEAN-Korea Japan ASEAN-China India AFTA ASEAN-India AANZ FTA Peru Australia New Zealand

  8. วิธีการเคลื่อนย้ายสินค้าวิธีการเคลื่อนย้ายสินค้า 1. การรวมตัวกันเป็น AEC ไม่ทำให้ดินแดนและอำนาจอธิปไตยของแต่ละประเทศเปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใด 2. ดังนั้น จะให้สินค้าผ่านอธิปไตยตามหลักดินแดนแต่ละประเทศได้อย่างไร ก็ต้องทำความตกลง (Agreement) กันก่อน เช่น • ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit (AFAFGT) ประกอบด้วย ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ • The Cross-Border Transport Agreement (CBTA) (ไทย-ลาว-พม่า-กัมพูชา-เวียดนาม-และจีนตอนใต้) • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามแดนไทย - ลาว

  9. การนำของที่นำเข้าไปจากอารักขาของศุลกากร ต้องทำอย่างไรบ้าง ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติศุลกากร ต้องปฏิบัติตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง(ประมาณ 99 ฉบับ) ต้องจัดทำ (ยื่น) ใบขนสินค้า ต้องชำระภาษี (หากมี) 10

  10. พิธีการศุลกากร 1. เอกสารที่ใช้ในการผ่านพิธีการศุลกากร 2. เอกสารที่ใช้ในการค้ำประกันค่าภาษี 3. พิธีการผ่านแดน

  11. เอกสารที่ใช้ในการผ่านพิธีการศุลกากรเอกสารที่ใช้ในการผ่านพิธีการศุลกากร → จะเป็นไปตามที่กำหนดในความตกลงฉบับต่างๆ เช่น ๏ ไทย – ลาว ใช้ใบแนบ 9 ๏ GMS (CBTA) ใช้เอกสารที่กำหนดขึ้นโดยเฉพาะ เป็น เอกสารชุด ประกอบด้วย เอกสารผ่านพิธีการศุลกากร และเอกสารค้ำประกัน โดยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย จะเป็นผู้ค้ำประกันและเป็นผู้ออกเอกสารต่างๆ ๏AFAFGT จะใช้การผ่านพิธีการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์โดย มีรูปแบบเอกสารตามที่จะตกลงกัน

  12. เอกสารที่ใช้ในการค้ำประกันค่าภาษีเอกสารที่ใช้ในการค้ำประกันค่าภาษี ๏ ไทย – ลาว ให้ผู้ประกอบการวางประกันลอย รายละ 1 ล้านบาท ๏ CBTA ให้สภาหอการค้าเป็นผู้ค้ำประกัน (เป็นรายเที่ยว) ๏ AFAFGT ให้สถาบันการเงินที่มีความพร้อม เป็นผู้ค้ำประกัน ทั้งนี้ ผู้ค้ำประกันต้องมีสาขาอยู่ในประเทศที่ของถูกขนส่งผ่านแดน (เป็นรายเที่ยว)

  13. พิธีการผ่านแดน ๏ ไทย – ลาว สามารถพักสินค้าไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บน (คลังสินค้าผ่านแดน) ได้ ๏ CBTA และ AFAFGT ไม่สามารถพักสินค้าไว้ได้ จะต้องขนส่ง ของออกไป เว้นแต่จะมีเหตุอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้

  14. การอำนวยความสะดวก ๏ ให้ใช้เส้นทางที่เหมาะสมที่สุด ๏ ให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่างๆ (ในประเทศไทย) ที่เกี่ยวข้องผ่านระบบ National Single Window และจะพัฒนาไปสู่ การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของประเทศอาเซียน ในอนาคต ผ่านระบบ ASEAN Single Window ๏ กรอบอาเซียนระบุไว้ชัดเจนว่าจะไม่มีข้อห้าม ข้อจำกัดในการ ผ่านแดน เว้นแต่จะเป็นข้อห้ามข้อจำกัดที่จำเป็น

  15. ตัวอย่างของต้องห้าม (Prohibited Goods) • (1) วัตถุลามก อนาจาร ตามมาตรา 287 แห่งประมวลกฎหมาย อาญา • (2) สินค้าที่มีตราหรือลวดลายธงชาติ ตาม พ.ร.บ. ธง พ.ศ. 2522 • (3) เงินตรา พันธบัตรอันเป็นของปลอม • (4) สินค้าที่ละเมิดลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า • (5) ยาเสพย์ติดให้โทษทุกชนิด • (6) สินค้าที่แสดงเมืองกำเนิดเป็นเท็จ ตาม พ.ร.บ.ห้ามนำของที่มี การแสดงกำเนิดเป็นเท็จเข้ามา พ.ศ.2481 • (7) ของต้องห้ามอื่นๆตามประกาศของกระทรวงพาณิชย์ เช่น ยาง รถยนต์เก่าใช้แล้ว เป็นต้น 16

  16. * ของต้องห้าม – ต้องจำกัดภายใต้ AFAFGT Contracting Parties สามารถกำหนดข้อห้าม ข้อจำกัดในการ ขนส่งสินค้าผ่านแดนได้ โดยระบุไว้ใน Annex แนบท้าย Protocol ๗ ข้อห้าม ข้อจำกัด จะต้องเป็นไปเพื่อ - Public morality - Public policy - Public security - The Protection of health or life of humans, animals or plants - The Protection of national treasures posing artistic, historical or archaeological value - The Protection of industrial or commercial property

  17. Legal Support กรอบอาเซียน 1. AEC Blue Print 2. The ASEAN Agreement to Establish and Implement the ASEAN Single Window 3. (ร่าง) พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่..) พ.ศ. .... 4. (ร่าง) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเชื่อมโยงข้อมูล แบบบูรณาการสำหรับการนำเข้า การส่งออก การนำผ่านและ โลจิสติกส์ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. .... 5. นโยบายของ ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2556 ซึ่งมอบหมายให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับกรมศุลกากร ต้องกำหนดให้ National Single Window เป็น KEY Performance Indicator (KPI) ของทุกหน่วยงาน

  18. Legal Support กรอบ GMS • The Cross-Border Transport Agreement (CBTA) • MOU ระหว่าง ไทย – ลาว และ ไทย – กัมพูชา • (ร่าง) ประมวลระเบียบปฏิบัติในการขนส่งผ่านแดน/ข้ามแดน ภายใต้กรอบ Greater Mekong Sub-region หรือ CBTA

  19. Legal Support กรอบ ไทย-ลาว • ความตกลงว่าด้วยการผ่านแดนไทย – ลาว และ Subsidiary Agreement • ประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากรที่เกี่ยวข้อง เช่น ประกาศกรมฯ ที่ 91/2547 เป็นต้น

  20. Legal Support เพื่อการอำนวยความสะดวกอื่นๆ 1. อายุความในการ Post Audit 2.เงินสินบนและเงินรางวัล 3. การแก้ไขโทษตามมาตรา 27 กรณี หลีกเลี่ยงข้อห้าม ข้อจำกัด 4. Returnable box ได้รับยกเว้นภาษี 5. Advanced Binding Ruling หรือการสอบถามพิกัดศุลกากร ราคา ศุลกากรและถิ่นกำเนิดสินค้าล่วงหน้า 6. การกำหนดมูลค่าขั้นต่ำของสินค้าที่ไม่ต้องเก็บภาษี

  21. ความตกลงไทย - ลาว 1. เดิม ทำขึ้นโดยอยู่บนพื้นฐานของอนุสัญญาบาร์เซโลน่า เพื่อให้ทางผ่านแก่ลาวในการออกสู่ทะเลได้ (จึงให้ขนส่งผ่านแดนมาออกที่ท่ากรุงเทพ/แหลมฉบัง) 2. ปัจจุบัน อยู่บนพื้นฐานของหลักต่างตอบแทน เห็นได้จากการมีการจัดทำความตกลงเพิ่มเติม (ว่าด้วยการขนส่งทางถนนเพื่อการท่องเที่ยวและการพาณิชย์) 3. “ของผ่านแดน” โดยปกติจึงไม่ควรเปิดตรวจ เพราะมิใช่ของที่จะบริโภคในประเทศ แต่ก็สามารถเปิดตรวจได้ โดยปฏิบัติตามความตกลงฯ คือเชิญฝ่ายลาวมาตรวจพร้อมๆกัน และสามารถ “ตกค้าง” ได้ตามเงื่อนไขของความตกลงและกฎหมายภายใน

  22. ความตกลงไทย – ลาว (ต่อ) 4. “ของผ่านแดน” ภายใต้อนุสัญญาบาร์เซโลน่า ก็สามารถตกอยู่ภายใต้ข้อห้ามข้อจำกัด ตามกฎหมายของประเทศที่ถูกผ่านแดนได้ (12 ฉบับ) 5. ถ้ายังไม่ตกลงกันก็จะไม่เขียนไว้ = ยังทำไม่ได้ (ไม่ใช่หมายความว่าไม่มีกฎหมายห้ามย่อมทำได้) 6. ในความตกลงฯ จะระบุเรื่องการยกเว้นภาษีไว้ ดังนั้น จึงสามารถยกเว้นภาษีขาเข้าได้ ทั้งนี้ตามพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 ภาค 4 ประเภท 10

  23. การขนสินค้าต่างประเทศผ่านดินแดนประเทศไทย จะทำได้อย่างไรบ้าง แม้อนุสัญญาบาเซโลน่า จะให้ประเทศเพื่อนบ้านต้องอนุญาตให้ประเทศที่ไม่มีทางออกทะเลผ่านดินแดนตน แต่จะต้องมีการทำความตกลงเสียก่อนจึงจะผ่านแดนกันได้ มิใช่จะทำได้โดยอัตโนมัติ การผ่านแดนจึงต้องมีการทำความตกลงระหว่างประเทศก่อนเสมอ เห็นได้จาก ความตกลงไทย-ลาว หรือความตกลงว่าด้วยการขนส่งของเน่าเสียง่ายผ่านประเทศมาเลเซียเพื่อไปยังประเทศสิงคโปร์ หรือความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน (AFAFGT) หรือความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งข้ามแดนภายในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (CBTA) เป็นต้น 24

  24. (AFAFGT) ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit,๑๙๙๘ ลงนามครบทั้ง ๑๐ ประเทศ เมื่อ ๑๖ ธันวาคม ๑๙๙๘ ยื่นสัตยาบันสารครบทั้ง ๑๐ ประเทศ เมื่อ ตุลาคม ๒๐๐๐ Entered into Force October ๒๐๐๐

  25. * ทำไมต้องมีการขนส่งผ่านแดนภายใน ASEAN an ASEAN Economic Community (AEC) a Single Market and Production Base By ๒๐๑๕ “Freedom of Movement for Goods/People/Service/Investmentacross the region ”

  26. * To make AEC happen Administrations must work “As One” The requirements are: ๑.A Common legal and organizational framework ๒.A HarmonizedTariff Nomenclature ๓.HarmonizedDocuments

  27. ๔. A regional transit management system * First priority is freedom of movement of goods - Efficient Customs Transit Arrangement - Efficient Transport Transit Arrangement ๕. Mutual Assistance and Enforcement system ๖.A Wide area network and region IT support and data centre เป็นต้น

  28. AFAFGT ๑. : กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกใน การขนส่งสินค้าผ่านแดน ๒. : กำหนดกรอบกว้างๆ ของการผ่านแดน ๓. : รายละเอียดแต่ละเรื่องจะอยู่ในพิธีสาร (Protocol)

  29. Questions & Answers

  30. ขอบคุณค่ะ

More Related