1 / 13

สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีที่ผ่านมา

สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีที่ผ่านมา. นพ.นิพนธ์ ชินานนท์เวช ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง. ก่อนการระบาด. 1. การเตรียมความพร้อม 1.1 การเตรียมบุคลากรในศูนย์ ปฏิบัติการ ผู้ว่า ราชการจังหวัด , นายอำเภอ เป็นผู้สั่ง การ 1.2 แผนและงบประมาณ

Télécharger la présentation

สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีที่ผ่านมา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออกปีที่ผ่านมาสิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออกปีที่ผ่านมา นพ.นิพนธ์ ชินานนท์เวช ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง

  2. ก่อนการระบาด 1.การเตรียมความพร้อม 1.1 การเตรียมบุคลากรในศูนย์ปฏิบัติการ ผู้ว่าราชการจังหวัด ,นายอำเภอ เป็นผู้สั่งการ 1.2 แผนและงบประมาณ ประสานการทำแผนระหว่างหน่วยงานและการจัดสรรงบประมาณสำหรับโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้ชัดเจนและเพียงพอ 1.3 องค์ความรู้ การพ่นสารเคมี จัดหลักสูตรให้ความรู้และทักษะ โดยการอบรม ทำคู่มือการปฏิบัติงาน เช่น ขั้นตอนการใส่ทราย เทคนิคการพ่นสารเคมี (ถูกต้อง ถูกช่วงเวลา ถูกสถานที่ ครอบคลุม ทันเวลา) เทคนิคการซ่อมบำรุงเครื่องพ่น -ปรับเปลี่ยนแนวคิด “การพ่นรณรงค์ล่วงหน้า” การดูแลรักษาผู้ป่วย - Case Conference - การจัดระบบแพทย์พี่เลี้ยงภายในจังหวัด - แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยภายในจังหวัด การสื่อสารให้ถึงประชาชน(รูปแบบและช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่)

  3. 2. การมีส่วนร่วมของประชาชน -การส่งข้อมูลสถานการณ์โรคที่เข้าใจง่ายให้ประชาชนและชุมชนรับทราบ -มีตัวแทนภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงาน -บูรณาการการทำงานให้เป็นเรื่องเดียวกัน ในระดับกระทรวง กรม จังหวัด พื้นที่ ประชาชน -การสั่งการจากฝ่ายปกครอง(ผู้ว่าราชการ/นายอำเภอ) -ปรับรูปแบบการสื่อสารให้น่าสนใจ และแสดงให้เห็นถึง ความรุนแรงของโรค เช่น ให้นักแสดง/ดาราที่กำลังนิยมมาเป็น Presenter -การทำประชาคมอย่างต่อเนื่อง -ประเมินความเสี่ยงและจัดทำแผนที่เสี่ยง -จัดทำสื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น ทำแผ่นพับสองภาษา ไทย-กัมพูชา ไทย-เมียนมาร์ ไทย-ลาว

  4. 3. วิเคราะห์สถานการณ์ “ต้องวิเคราะห์สถานการณ์องค์รวม สถานการณ์โรคและปัจจัยเสี่ยง เพื่อให้ได้ พื้นที่ซ้ำซากและพื้นที่เสี่ยง” “บุคลากรขาดองค์ความรู้ (บุคลากรใหม่) ช่วงแรกใช้วิธีพี่สอนน้อง และช่วงต่อไป ให้เข้ารับการอบรม” ระบบการรายงาน ให้มีข้อบังคับใช้ในการสั่งการต่อไป อนุญาตสถานพยาบาล

  5. 4. การป้องกันโรค 1.ต้องมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องทุกฤดูกาล (ทุกจังหวัด) ในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ และฤดูกาลระบาด ประมาณเดือนพฤษภาคม โดยสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกอำเภอโดยอย่างน้อย เขตเมือง 1 แห่ง นอกเขตเมือง 1 แห่ง 2. มีการสื่อสารข้อมูลไปยังเครือข่าย 3. จัดทำฐานข้อมูลไข้เลือดออกที่วิเคราะห์แล้ว(HI,CI) โดยหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด 4. มีการอบรมในกลุ่มของ อสม. ครู นักเรียน และคณะกรรมการวัด/มัสยิด 5. สื่อสารไปยังกลุ่มประชาชน ให้ความรู้และสร้างความตระหนักในการปฏิบัติ

  6. ระหว่างการระบาด • War room ระดับจังหวัด/อำเภอ 1. ขอให้มี “ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอควรเป็นประธาน” 2. ควรมีข้อสั่งการสั้น ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งการ 3. มีการกำหนดเวลาติดตามงาน D-day อย่างชัดเจน 4. การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัด และอำเภอ 5. มีการดึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาประชุม มีการ share ทรัพยากร บุคลากร เช่น โรงเรียน โรงงาน ข้อสังเกต การประชุม WR มีข้อดี ทำให้เกิดแชร์ข้อมูลและการดำเนินงานระหว่างหน่วยงาน

  7. 2. War room ระดับกระทรวง/กรม 2.1 จัดระบบการติดตาม มติครม. ใน WR กระทรวงเช่น จัดเวทีให้แต่ละกระทรวงรายงานความก้าวหน้า 2.2. ให้กำหนดตัวชี้วัดของผลมติครม.ที่เป็น outcome เพื่อติดตามการดำเนินงานของกระทรวงต่างๆ 2.3 มีแบบสรุปผลการดำเนินงานจากภาคีให้ทราบ ควรมีการร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการ ทั้งในระดับกระทรวงและระดับกรม หน่วยงานจัดสรรงบประมาณจัดทำโครงการผลักดันการนำไปใช้จริง

  8. 3. Dengue Corner & Case Management 1.1 การดำเนินงาน Dengue Corner แบ่งเป็น - OPD คัดกรอง ให้ความรู้ ควบคุมการกระจายเชื้อ - IPD รักษาอย่างใกล้ชิดให้ความรู้ ป้องกันยุงกัด 1.2 การจัดทำ Dengue Card ที่ใช้เหมือนกันทุก รพ. 1.3 มีแนวทางการจัดการเรื่อง Dengue Corner เป็นเอกสารคู่มือโดยให้หน่วยงานบริหารจัดการเอง 1.4 อธิบายสื่อสารให้ชัดเจนว่า Dengue Corner คืออะไร เพื่ออะไร เพื่อผู้ปฏิบัติจะได้เข้าใจตรงกันและปฏิบัติตามได้ถูกต้อง 1.5 มี OPD-fasttrack ให้คำปรึกษาและมีหอผู้ป่วย Dengue โดยเฉพาะ การดำเนินงานหลังพบผู้ป่วยควรสื่อสารให้ถึงชุมชนและสร้างเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้ผู้ป่วยรีบไปพบแพทย์และไม่ซื้อยาที่ไม่เหมาะสมรับประทานเอง เกณฑ์การเปิด Dengue Corner • ขึ้นอยู่กับบริบทและสถานการของพื้นที่ ตามเกณฑ์ที่ควรจะมีการกำหนด • ควรมีการฝึกบุคลากรที่จะดูแล Dengue Corner • โรงพยาบาลมีการปรับปรุงระบบการส่งต่อเพื่อลดการตาย มีการประชุมกับ รพ.ที่เกี่ยวข้องและหาแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการส่งต่อผู้ป่วยร่วมกัน

  9. ประเด็น 5 ป 1 ข - มีประโยชน์สั่งการใน VDO Conference สสอ. รพช. รพสต. อสม.รับทราบ - จัดทำ key message ให้เข้าใจง่าย ชัดเจนในการปฏิบัติ เช่น บ้านท่านเองอย่านิ่งดูดาย ฆ่าลูกน้ำยุงลายให้ตายเพื่อลูกหลานท่าน, กำจัดลูกน้ำยุงลายทุกวันศุกร์ • ประเด็น 5 เสือ 5 เสือแต่ละระดับควรใช้ App เพื่อการสื่อสารแบบ Real time กำหนดบุคคลเข้า WR - แต่งตั้ง 5 เสือให้ครบตั้งแต่ในWR - ให้ผู้ตรวจราชการเป็น IC

  10. ประเด็น การรณรงค์ในโรงเรียน - ควรจะต้องให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยทุกเดือนในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด และอย่างน้อยทุกสัปดาห์ในช่วงฤดูกาลระบาด - กำหนดเรื่องไข้เลือดออกในหลักสูตรการเรียนการสอน - มีการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกกับครู/บุคลากรทางการศึกษา - เพิ่มกิจกรรมการกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงตัวแก่ด้วยเทคโนโลยีและวิธีการที่ง่าย ทั้งในโรงเรียน/บ้าน/ชุมชนใกล้บ้าน “ให้การบ้านนักเรียนกลับไปทำที่บ้าน” - จัดทำแผนการปฏิบัติการของอาสาสมัคร/แกนนำนักเรียนในโรงเรียน เช่น อย.น้อย - การรณรงค์ควรคำนึงถึงโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็กในสังกัด อปท. นอกเหนือจากโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - ให้มีมาตรฐานในการจัดการลูกน้ำ โดยอาจทำ MOU ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ สาธารณสุข. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ลงประเมิน - กระทรวงศึกษาธิการต้องสั่งการให้โรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย และให้ สคร. ศตม. สสจ. สสอ. รพช.ประเมิน - กรมควบคุมโรคควรเป็นหน่วยงานหลักในการติดตามและประเมินผล

  11. ประเด็นมาตรการป้องกันควบคุมโรคประเด็นมาตรการป้องกันควบคุมโรค • มาตรการ 331ต้องระบุให้ชัดเจนว่าแจ้งด้วยอะไรโดยใคร แจ้งใคร ให้อสม.ทำอะไร • มาตรฐาน SRRT เดิม รายงานภายใน 24 ชม. สอบสวนควบคุม 24 ชม.

  12. หลังการระบาด • การทบทวนถอดบทเรียน • จัดทำพื้นที่เสี่ยงต่อการระบาดและไม่ระบาดเพื่อเฝ้าระวังต่อไป • วิเคราะห์การระบาดในพื้นที่ แล้วดำเนินการจัดการพื้นที่ให้เป็นศูนย์ • จัดทำ BESTPRACTICE นวัตกรรมด้านการป้องกันควบคุมโรค

More Related