1 / 24

หน่วยที่ 4

หน่วยที่ 4. ทฤษฎีการผลิตและการประยุกต์. ลักษณะสำคัญของการผลิตด้านการเกษตร 1. ผู้ผลิตสินค้าเกษตรในระดับไร่นาบางชนิดสามารถเข้าออกจากธุรกิจโดยเสรี 2. ผลผลิตสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีคุณภาพแตกต่างกัน 3. การผลิตสินค้าเกษตรต้องประสบปัญหาความเสี่ยงและความไม่แน่นอน

sharis
Télécharger la présentation

หน่วยที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 4 ทฤษฎีการผลิตและการประยุกต์

  2. ลักษณะสำคัญของการผลิตด้านการเกษตรลักษณะสำคัญของการผลิตด้านการเกษตร • 1. ผู้ผลิตสินค้าเกษตรในระดับไร่นาบางชนิดสามารถเข้าออกจากธุรกิจโดยเสรี • 2. ผลผลิตสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีคุณภาพแตกต่างกัน • 3. การผลิตสินค้าเกษตรต้องประสบปัญหาความเสี่ยงและความไม่แน่นอน • 4. รายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรส่วนใหญ่เป็นรายได้เพียงครั้งเดียว • 5. ธุรกิจการทำเกษตรกับครอบครัวมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด

  3. ความแตกต่างของผลผลิตเกษตรกับผลผลิตอื่นๆความแตกต่างของผลผลิตเกษตรกับผลผลิตอื่นๆ 1. ผลผลิตเกษตรมีช่วงเวลาในการผลิตตามสภาพธรรมชาติ 2. การผลิตสินค้าเกษตรจะผลิตได้ตามฤดูกาล 3. สินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีคุณภาพมาตรฐานไม่แน่นอน 4. สินค้าเกษตรมีน้ำหนักมากและกินเนื้อที่ 5. สินค้าเกษตรส่วนใหญ่ยากแก่การเก็บรักษา

  4. การตัดสินใจทางด้านการผลิตของเกษตรกรการตัดสินใจทางด้านการผลิตของเกษตรกร ๏ input-output decision ๏ input-input decision ๏ product-product decision

  5. ฟังก์ชันการผลิต Product function เป็นการแสดงความสัมพันธ์ทางกายภาพ ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต โดยมี Y = ตัวแปรตาม = ตัวแปรอิสระ

  6. ข้อสมมติเกี่ยวกับฟังก์ชันการผลิตข้อสมมติเกี่ยวกับฟังก์ชันการผลิต 1.ปัจจัยการผลิตและผลผลิตแต่ละหน่วยต้องมีลักษณะ เหมือนกัน 2. ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตต้องกำหนดแน่นอน 3. เทคนิคการผลิตต้องคงที่ 4. กระบวนการผลิตอยู่ภายใต้ภาวะความแน่นอน

  7. ต้นทุนการผลิต • ต้นทุนการผลิตคือ ค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต • การแบ่งต้นทุนการผลิตตามระยะเวลา • ต้นทุนคงที่ (fixed cost) • ต้นทุนผันแปร (variable cost) เขียนเป็นสมการต้นทุนได้ดังนี้

  8. Y Y Y COBB-DOUGLAS QUADRATIC LINEAR TPP TPP TPP X X X Y Y Y APP=MPP APP APP MPP MPP X X X ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตกับฟังก์ชันการผลิต

  9. $ $ $ TC TC TC VC VC VC FC FC FC Y Y Y MC $ MC $ $ ATC ATC ATC ATC AVC AVC MC=AVC AFC AFC AFC Y Y ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตกับฟังก์ชันการผลิต Y

  10. Y2 Y2 TPPX1 Y1 Y1 X1 0 0 (ค) Y1 Y2 (ก) Y PX1.X1 ต้นทุน TVC 0 ต้นทุน Y 0 (ข) Y2 (ง) Y1 ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนกับผลผลิต ผลผลิต(Y) (Y)

  11. **ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต****ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต** ข้าวโพด(ถัง) 126 130 132 130 120 150 120 90 60 30 TPP Y X ระยะที่ 2 W X1/X2,X3,…Xn 75 150 225 300 375 450 525 600 675 ข้าวโพด(ถัง) ระยะที่ 1 ระยะที่ 3 0.60 0.40 0.20 APP X1/X2,X3,…Xn 75 150 225 300 375 450 525 600 675 MPP ความสัมพันธ์ในเชิงเทคนิคของการผลิต

  12. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับปัจจัยการผลิตความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับปัจจัยการผลิต • 1. ปัจจัยแปรผันสองชนิดรวมกันในอัตราคงที่ เช่นการผลิตปลากระป๋องโดยใช้ • ส่วนผสมของซอสกับเนื้อปลาตามสูตรที่กำหนดไว้ • 2. ปัจจัยแปรผันสองชนิดรวมตัวกัน โดยมีอัตราการทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์ • เช่น การใช้ปลายข้าวแทนข้าวโพดในการผลิต • 3. ปัจจัยการผลิตสองชนิดรวมกันโดยมีอัตราการทดแทนเปลี่ยนแปลงเช่น การใช้ • ผักขมร่วมกับผักบุ้งในการเลี้ยงสุกร

  13. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิตความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตกับผลผลิต 1.ความสัมพันธ์แบบผลผลิตร่วม เช่น การสีข้าวจะได้ทั้งข้าวสาร ปลายข้าว รำ และแกลบ 2. ความสัมพันธ์แบบแข่งขันกัน เช่น ที่ดิน 10 ไร่ เมื่อปลูกข้าวโพดมาก ก็จะปลูกข้าวฟ่างได้ลดลง 3. ความสัมพันธ์แบบที่เกื้อหนุนกัน เช่นปลูกฝ้าย และถั่วเหลืองในแปลงเดียวกัน 4. ความสัมพันธ์แบบที่เสริมกัน เช่นการเลี้ยงไก่ในบ่อปลา

  14. ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจของการผลิตความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจของการผลิต ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของการใช้ปัจจัยแปรผันชนิดเดียว 1. ระดับการใช้ปัจจัยแปรผันอย่างเดียวให้ผลตอบแทนสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 1.1 การหาปริมาณปัจจัยแปรผันที่ใช้แล้วจะทำให้ได้รับกำไรสูงสุด หรือ ต้นทุนเพิ่มของปัจจัย (MFC) เท่ากับราคาปัจจัยแปรผัน (Px) 1.2 การหาปริมาณผลผลิตที่จะได้รับกำไรสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ จุดกำไรสูงสุด หรือ โดยมี ราคาผลผลิต

  15. บาท MFC MVP 0 x2 x1 2.1 การหาปริมาณปัจจัยแปรผันที่ใช้แล้วได้กำไรสูงสุดในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ จะอยู่ ณ จุดที่ MVP=MFC และความชันของ MFC มากกว่าความชันของ MVC (จุดX2) 2. ระดับการใช้ปัจจัยแปรผันอย่างเดียวให้ได้ผลตอบแทนสูงสุดในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ปัจจัย X 2.2 การหาปริมาณผลผลิตที่ผลิตแล้วจะได้กำไรสูงสุดในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ โดยมี Py= ราคาผลผลิต = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ผลผลิต

  16. บาท TVP ขาดทุน II III I MFC Px. AVP ต้นทุน รายรับ AVP=Py.APP ต่อหน่วย ปัจจัย X ต่อหน่วย 0 X0 MVP=Py.MPP ขอบเขตการได้กำไรสูงสุดจากระยะต่างๆของฟังก์ชันการผลิต economic regionคือ ระยะต่างๆ ในฟังก์ชั่นการผลิตที่สามารถทำการผลิตและให้ได้กำไรเป็นบวก กรณีที่จำนวนปัจจัยแปรผันมีอย่างไม่จำกัด 1. ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ภาพที่ 4.14 แสดงขอบเขตเศรษฐกิจของฟังก์ชันการผลิตในระยะที่ขาดทุน

  17. บาท I II III กำไร AVP MFC Px ปัจจัย X 0 X1 MVP AVP ภาพที่ 4.15 แสดงขอบเขตเศรษฐกิจของฟังก์ชันการผลิตในระยะที่ได้รับกำไร

  18. ผลผลิต (ข) MFC MFC บาท กำไร AFC กำไร (ก) AVP AFC AVP Px AVP Px AVP ปัจจัยX ปัจจัยX 0 X0 0 X0 1. ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์

  19. บาท กำไร AVP AVP MFC Px ปัจจัยX 0 X1 X0 MVP ... กรณีที่จำนวนปัจจัยแปรผันที่มีอยู่อย่างจำกัด… 1. ตลาดที่มีการแข่งขันสมบูรณ์ ขอบเขตเศรษฐกิจจะอยู่ในระยะหนึ่ง หรือสองก็ได้ 2. ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ ขอบเขตเศรษฐกิจจะอยู่ในระยะหนึ่ง หรือสองก็ได้

  20. ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของการใช้ปัจจัยแปรผันตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของการใช้ปัจจัยแปรผันตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป ปัจจัยX2 X2 Iq ปัจจัยX1 X1 ต้นทุนและจุดที่เสียต้นทุนต่ำสุดในการใช้ปัจจัย 2 ชนิดร่วมกัน 1. พิจารณาจากต้นทุนต่ำสุด โดยกำหนดระดับผลผลิตระดับหนึ่ง 2. พิจารณาจากจำนวนผลผลิตสูงสุด โดยกำหนดต้นทุนให้ระดับหนึ่ง ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

  21. ต้นทุนและจุดที่เสียต้นทุนต่ำสุดในการใช้ปัจจัย 2 ชนิดร่วมกัน 1. พิจารณาจากต้นทุนต่ำสุด โดยกำหนดระดับผลผลิตระดับหนึ่ง 2. พิจารณาจากจำนวนผลผลิตสูงสุด โดยกำหนดต้นทุนให้ระดับหนึ่ง ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

  22. การจัดสรรปัจจัยแปรผันมากกว่า 2 ชนิด ให้เสียต้นทุนการผลิตต่ำสุด การจัดสรรปัจจัยแปรผันมากกว่า 2 ชนิด ให้ได้กำไรสูงสุด ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MVPx = VMPx

  23. ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของผลผลิตความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจในแง่ของผลผลิต การหาส่วนผสมของผลผลิต 2 ชนิดเพื่อให้รายได้สูงสุด ผลผลิต y2 y2 ผลผลิต y1 y1

  24. กลยุทธ์การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนกลยุทธ์การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน 1. การประกันภัยพืชผล 2. การผลิตสินค้าหลายชนิดแบบผสมผสาน 3. การเลือกกิจกรรมที่มีความคล่องตัว เช่น การปลูกผักระยะสั้นหรือ ผลิตสินค้าที่ต้นทุนต่ำ 4. การรักษาสภาพคล่องของธุรกิจ 5. การเก็บสำรองปัจจัยการผลิตที่สำคัญ 6. การตกลงทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า

More Related