1 / 154

ความสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ความสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย. พญ . อรพรรณ ชัยมณี แพทย์อา ชีว เวชศาสตร์ กลุ่มศูนย์เฉพาะทางด้านอา ชีว เวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัต นราช ธานี. อาชีวอนามัย ( Occupational Health ). อา ชีว (occupation ) = อาชีพ อนามัย ( health ) = สุขภาพอนามัย.

shaunp
Télécharger la présentation

ความสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยความสำคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย พญ. อรพรรณ ชัยมณี แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ กลุ่มศูนย์เฉพาะทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

  2. อาชีวอนามัย ( Occupational Health ) • อาชีว(occupation ) = อาชีพ • อนามัย ( health ) = สุขภาพอนามัย อนามัยและความปลอดภัยของ ผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ

  3. เป้าหมายของงานอาชีวอนามัยเป้าหมายของงานอาชีวอนามัย • ป้องกันสิ่งคุกคาม อันตราย และโรคจากการทำงาน • ลดการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน • เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงที่สุดจากการทำงาน • ส่งเสริมสุขภาพทั้งทางกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ • ลดการขาดงานจากเหตุเจ็บป่วย

  4. ข้อมูลประชากร พ.ศ. 2560 • ประชากรวัยทำงาน 38.17 ล้าน คน (68.16%) • แรงงานนอกระบบ = 20.77 ล้านคน (55.18%) • แรงงานในระบบ = 16.87 ล้านคน (44.82%)

  5. ข้อมูลโรคจากการทำงาน กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 • โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ (M00-M99,G56.0 / Y96) 100,743 ราย • โรคปอดฝุ่นหิน (J62.8) 195 ราย • โรคการได้ยินเสื่อมจากเสียงดัง (H83.3,H90.3-H90.5) 42,946 ikp

  6. ข้อมูลโรคจากการทำงาน กองทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2560 • โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ 1,554 ราย • โรคผิวหนัง 246 ราย • โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ 18 ราย • โรคระบบทางเดินหายใจ 15 ราย • โรคจากสารเคมี 3 ราย

  7. โรคที่เกิดกับคนงาน • แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ • โรคทั่วไป • ไทรอยด์เป็นพิษ • เบาหวาน • โรคจากการทำงาน ( Occupational disease ) • โรคที่เกี่ยวเนื่องกับการทำงาน ( Work-related disease )

  8. โรคจากการทำงาน (Occupational Disease) • ปัจจัยในการทำงานเป็นปัจจัยเดียวที่ทำให้เกิดโรค ไม่มีปัจจัยอื่นเกื้อหนุนและหากปราศจากปัจจัยนั้นแล้วก็จะไม่มีโรคเกิดขึ้น • ถ้าไม่ทำงานก็ไม่เกิดโรค

  9. โรคจากการทำงาน • โรคปอดฝุ่นหิน • ประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง • ผื่นแพ้จากการสัมผัสสารเคมี

  10. โรคเกี่ยวเนื่องจากการทำงานโรคเกี่ยวเนื่องจากการทำงาน • ไม่ได้เกิดจากงานโดยตรง แต่การทำงานทำให้โรคเป็นมากขึ้น • WHO : โรคที่เกิดจากหลายปัจจัย โดยปัจจัยคุกคามในสถานที่ทำงานก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคนี้ แต่ก็ไม่เสมอไปในทุกราย เช่น • ปวดหลัง • ความดันโลหิตสูง

  11. ทำไมจึงต้องวินิจฉัยโรคจากการทำงานทำไมจึงต้องวินิจฉัยโรคจากการทำงาน

  12. ประโยชน์จากการวินิจฉัยโรคจากการทำงานประโยชน์จากการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน 1. ระบบกองทุนเงินทดแทนจำเป็นต้องทราบว่า คนทำงานใดเจ็บป่วยจากการทำงานบ้าง เพื่อที่จะได้จ่ายเงินค่ารักษาและเงินชดเชยการเจ็บป่วยนั้นให้แก่คนที่เจ็บป่วยจากการทำงานได้อย่างถูกต้อง

  13. ประกันสังคม ( Social Security Office: SSO ) • กองทุนเงินทดแทน ( Workmen’s Compensation Fund)

  14. ประโยชน์จากการวินิจฉัยโรคจากการทำงานประโยชน์จากการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน 2. เพื่อนำไปสู่การรวบรวมสถิติโรค จำนวนของผู้ป่วยโรคจากการทำงานที่เพิ่มขึ้นจะทำให้เกิดการแก้ไขสภาพแวดล้อมการทำงานเพื่อให้คนทำงานเจ็บป่วยน้อยลงในอนาคต • ประเด็นนี้จะเป็นประโยชน์กับประเทศชาติและคนทำงานทุกคนในภาพรวม ด้วยความสำคัญในข้อนี้ ทำให้การวินิจฉัยโรคจากการทำงานในคนทำงานกลุ่มที่กองทุนเงินทดแทนไม่คุ้มครอง เช่น ข้าราชการหรือแรงงานนอกระบบ จึงยังคงมีความสำคัญอยู่

  15. การวินิจฉัยอาศัยข้อมูลจากการวินิจฉัยอาศัยข้อมูลจาก • การซักประวัติ • การตรวจร่างกาย • การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

  16. การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน มีขั้นตอนดังนี้ • การวินิจฉัยโรค • การบรรยายลักษณะการทำงานโดยละเอียด • การทบทวนพิษวิทยาของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพที่พบในที่ทำงาน • การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพกับอาการที่เกิดขึ้น (dose response relationship ) • การพิจารณาถึงสาเหตุอื่นที่ทำให้เกิดโรคนอกเหนือจากการทำงาน • การรวบรวมข้อมูลเพื่อสรุปผลการวินิจฉัย

  17. 1. การวินิจฉัยโรค • อาศัยหลักการเหมือนการวินิจฉัยโรคทั่วไป • มีข้อบ่งชี้ในการวินิจฉัยว่าเจ็บป่วยเป็นโรคที่ชัดเจนตามหลักการทางการแพทย์

  18. 2. การบรรยายลักษณะการทำงานโดยละเอียด • ข้อมูลลักษณะการทำงาน ได้มาจาก • การซักประวัติ • การเดินสำรวจสภาพในสถานประกอบการ (walk through survey)

  19. 3.การทบทวนพิษวิทยาของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพที่พบในที่ทำงาน3.การทบทวนพิษวิทยาของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพที่พบในที่ทำงาน • สิ่งคุกคามต่อสุขภาพหรือสารเคมีก่อให้เกิดโรคที่ผู้ป่วยเป็นได้หรือไม่

  20. 4. การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพกับอาการที่เกิดขึ้น • พิจารณาดูว่าระดับปริมาณของสิ่งคุกคามต่อสุขภาพในสถานประกอบการมีเพียงพอที่จะก่อให้เกิดโรคดังที่ผู้ป่วยเป็นหรือไม่

  21. 5. การพิจารณาถึงสาเหตุอื่นที่ทำให้เกิดโรคนอกเหนือจากการทำงาน • คิดถึงสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่สาเหตุจากการทำงานไว้ด้วย • ปัจจัยอื่นที่อาจก่อให้เกิดโรคคล้ายคลึงโรคจากการทำงาน ได้แก่ • สิ่งแวดล้อม • ผู้ป่วยหอบหืดอาจได้รับการกระตุ้นจากสารเคมีหรือฝุ่นในที่ทำงานได้ ในขณะเดียวกันการอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีมลพิษในอากาศสูงก็เป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดหอบหืดขึ้นเช่นกัน

  22. 6. การรวบรวมข้อมูลเพื่อสรุปผลการวินิจฉัย • การประมวลจากข้อมูลที่มีอยู่แล้วสรุปให้ได้ว่าเป็นโรคจากการทำงานหรือไม่

  23. โรคผิวหนังจากการทำงานโรคผิวหนังจากการทำงาน

  24. โรคผิวหนังจากการทำงานโรคผิวหนังจากการทำงาน • โรคจากการทำงานที่พบบ่อย พบประมาณ 20% ของโรคจากการทำงานทั้งหมด • โรคผิวหนังที่เกิดจากปัจจัยในที่ทำงาน ได้แก่ • ปัจจัยด้านชีวภาพ • ป้จจัยด้ายสารเคมี

  25. การวินิจฉัยโรคผิวหนังจากการทำงาน อาศัย • ประวัติ • การเจ็บป่วยปัจจุบัน • อาชีพ ลักษณะการทำงาน • การตรวจร่างกาย • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

  26. คำถาม • เริ่มมีอาการเมื่อไหร่ • มีอาการบริเวณไหนของร่างกาย • ทำงานอะไร บรรยายลักษณะการทำงาน • งานที่บ้าน งานอดิเรก • วิธีทำความสะอาดมือ ร่างกาย • การป้องกัน • อาการในวันหยุดเป็นอย่างไร

  27. โรคผิวหนังจากการทำงานโรคผิวหนังจากการทำงาน • ผื่นแพ้สัมผัส • ลมพิษจากสารสัมผัสจากการทำงาน • มะเร็งผิวหนังจากการทำงาน • สิวจากการทำงาน • ผิวหนังติดเชื้อจากการทำงาน

  28. ผื่นแพ้สัมผัส

  29. ผื่นแพ้สัมผัส • อาการ • คัน • ผิวหนังแดง บวม • พบได้ 90% ของโรคผิวหนังที่เกิดจากการทํางาน • หญิงพบได้มากกว่าชาย • พบผื่นที่มือมากที่สุด

  30. ผื่นแดง ผิวแห้งแตก คัน ที่มือขวา

  31. การสัมผัสสารเคมี จับ/สัมผัสโดยตรง กระเด็น จุ่ม/แช่ ปนเปื้อน

  32. ผื่นแพ้สัมผัสแบ่งเป็นผื่นแพ้สัมผัสแบ่งเป็น • ผื่นแพ้สัมผัสจากสารระคายเคือง • ผื่นแพ้สัมผัสจากสารก่อภูมิแพ้

  33. ตัวอย่างสารเคมีในโรงงานที่ทำให้เกิดการระคายเคืองผิวหนังตัวอย่างสารเคมีในโรงงานที่ทำให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง • ปิโตรเคมี • สารตัวทำละลาย • แอลกอฮอล์ • กรด • ด่าง • น้ำ • สบู่ / ผงซักฟอก / น้ำยาทำความสะอาด

  34. ผื่นแพ้สัมผัสจากสารระคายเคืองแบบเฉียบพลันผื่นแพ้สัมผัสจากสารระคายเคืองแบบเฉียบพลัน • ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุ • เกิดอาการทันทีหรือภายในไม่กี่นาทีหลังสัมผัส • อาการ : ปวดแสบ เจ็บ • ลักษณะผื่น : แดง บวม ตุ่มน้ำใส ๆ หรืออาจมีการตายของเนื้อเยื่อ • พบผื่นที่ผิวหนังบริเวณที่สัมผัสสารเคมี • ส่วนใหญ่มักเกิดจากการสัมผัสกรดหรือด่าง

  35. ผื่นแพ้สัมผัสจากสารระคายเคืองแบบเรื้อรังผื่นแพ้สัมผัสจากสารระคายเคืองแบบเรื้อรัง • พบได้บ่อย • เกิดจากการสัมผัสสารก่อการระคายเคือง (แบบอ่อน ๆ) ซ้ำ ๆ เช่น • น้ำยาทำความสะอาด • สารตัวทำละลาย น้ำมัน • สบู่ • กรดอ่อนและด่างอ่อน • ฝุ่น

  36. อาชีพเสี่ยง • พนักงานทำความสะอาด แม่บ้าน • คนงานก่อสร้าง • คนทำอาหาร • บุคคลากรทางการแพทย์ • ช่างทำผม • ช่างยนตร์ ช่างเครื่อง • คนชำแหละเนื้อสัตว์ • คนทำสวน

  37. น้ำยาล้างมือในโรงพยาบาลน้ำยาล้างมือในโรงพยาบาล • Alcohol 95 % • Hibitane (Chlorhexidine 20 %)

  38. Hibitane • Chlorhexidine • ประโยชน์ • ใช้ในการฆ่าเชื้อโรค

  39. Hibitane • ผลกระทบต่อร่างกาย • ระคายเคืองผิวหนัง • ผื่นแพ้สัมผัส

  40. Late fissuring in irritant contact dermatitis

  41. Chronic ICD

  42. สารเคมีที่ใช้ในหน่วยงานจ่ายกลางสารเคมีที่ใช้ในหน่วยงานจ่ายกลาง • ProEZ AW Quad • ประกอบด้วย • Subtilisin (Protease) • Boric Acid • Triethanolamine • Glycerol

  43. ส่วนประกอบทางเคมีของ ProEZ AW Quad Subtilisin (Protease) เอนไซม์โปรทีเอส • ใช้เป็นสารซักล้างในรูปเอนไซม์ (Enzyme detergent) • ระคายเคืองตา ทางเดินหายใจ ผิวหนัง ก่อให้เกิดหอบหืดได้ Boric acid กรดบอริค • รับสัมผัสได้ทางการหายใจ ผิวหนัง และเยื่อบุ • ก่อให้เกิดการระคายเคืองตา ผิวหนัง ทางเดินหายใจ • ไม่จัดเป็นสารก่อมะเร็ง

  44. ส่วนประกอบทางเคมีของ ProEZ AW Quad Triethanolamine • มักเป็นส่วนผสมในสบู่ สารซักล้าง สารลดแรงตึงผิว สารหล่อลื่น ในผลิตภัณฑ์อุปโภค • ฤทธิ์ระคายเคืองตาและผิวหนัง • ไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์หรือไม่ (IARC 3) Glycerol • การสัมผัสทางผิวหนังจากผลิตภัณฑ์อุปโภค ก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง และเยื่อบุตาได้

  45. ปลอกแขนกันสารเคมี

  46. ผื่นแพ้สัมผัสจากสารก่อภูมิแพ้ • สารก่อภูมิแพ้ ได้แก่ • ยาง • นิกเกิ้ล • โครเมท: ปูนซีเมนต์ • น้ำหอม เครื่องหอม

  47. การวินิจฉัย • ประวัติ • การสัมผัสสารเคมีในงาน • การสัมผัสสารเคมีนอกงาน • ตรวจร่างกาย • Patch test

More Related