1 / 12

โรคและสาเหตุของโรค

โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส 404652062 กลุ่มพื้นฐานที่ 12. โรคและสาเหตุของโรค. -พบครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น -เชื้อสาเหตุ คือ JEV -เชื้อทำให้มีการอับเสบของระบบประสาทส่วนกลางและอื่นๆ -มียุงรำคาญ ( Culex ) เป็นภาหะ.

shay
Télécharger la présentation

โรคและสาเหตุของโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคไข้สมองอับเสบเจอีJapanese encephalitisเสนออาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลีจัดทำโดยน.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส 404652062กลุ่มพื้นฐานที่ 12

  2. โรคและสาเหตุของโรค -พบครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น -เชื้อสาเหตุ คือ JEV -เชื้อทำให้มีการอับเสบของระบบประสาทส่วนกลางและอื่นๆ -มียุงรำคาญ (Culex) เป็นภาหะ

  3. วงจรการติดต่อของเชื้อวงจรการติดต่อของเชื้อ -ติดเชื้อ JEV แพร่หลายในสุกร ม้า นก วัว ควาย และลิง -สุกรเป็นแหล่งเชื้อ(Ampilitier) -ในสัตว์ที่ติดเชื้อและมีอินมูนเกิดขึ้นจะไม่สามารถเป็น amplifierhost -สัตว์ต่างๆจะติดเชื้อ JEV โดยไม่ปรากฎอาการยกเว้นในสัตว์ตั้งท้อง

  4. ยุงพาหะ(Culex) -เป็นยุงที่ชอบอยู่นอกบ้าน -พบบริเวณที่หญ้าขึ้นรก -มีแหล่งเพาะพันธุ์เป็นน้ำขุ่น,น้ำท่อระบายน้ำ,สระน้ำ,อ่างน้ำ -บินสูง 43-50 ฟุต บินไกล 1.5 กิโลเมตร

  5. การติดเชื้อและผลที่เกิดขึ้นการติดเชื้อและผลที่เกิดขึ้น -เชื้อ JEV เข้าสู้ร่างกายทางผิวหนังเมื่อยุงที่มีเชื้อมากัดดูดเลือด -เกิดเยื้อหุ้มสมองอับเสบภายในจะมีจุดเลือดออก -เซลล์ประสาทเสื่อมสลาย

  6. อาการของโรค -มี 3 อาการสำคัญคือ ไข้สูง ปวดศีรษะ ไม่รู้สึกตัว -อาการสมองอับเสบมี 3 ประการ •ระยะอาการนำ(prodromal) •ระยะสมองอับเสบเฉียบพลัน(acute encephalitic stage) •ระยะหลังโรคและภาวะแทรกซ้อน(late stage และ sequelae) -ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่มีอาการมีเพียง 1 ใน 300-500คนที่มีอาการ

  7. โรคแทรกซ้อนเกิดในเด็กโรคแทรกซ้อนเกิดในเด็ก -ปวดบวม -ทางเดินปัสสาวะอับเสบ -เกิดแผลกดทับ

  8. ภูมิคุมกันโรค เกิดขึ้นจากการใช้วัคซีนป้องกันโรค -วัคซีนของสัตว์มีทั้งวัคซีนเชื้อตาย(inactivated vaccing)และวัคซีนเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์(live attenuated vaccing) -วัคซีนของคนเป็นวัคซีนเชื้อตาย ซึ่งเตรียมจากสมองหนูแรกเกิด -วัคซีนเชื้อตาย ผลิตจากสมองหนูมี 2 ชนิด คือ ชนิดน้ำ และชนิดแห้ง ผลิตจากสายพันธุ์ JEP3 เพาะเลี้ยงในเซลล์ไตของแฮมสเตอร์

  9. ภูมิคุมกันโรค (ต่อ) -วัคซีนเชื้อเป็น ผลิตจากไตเพาะเลี้ยงจากแฮมเตอร์และจากไข่ไก่ฟัก -ข้อควรระวังในการให้วัคซีน • เด็กมีไข้สูง • เด็กมีประวัติแพ้ยา อาหาร วัคซีนอย่างรุนแรง • เด็กมีประวัติชัก • หญิงมีครรภ์

  10. การวินิจฉัยโรค -การตรวจจากตัวอย่างโดยตรง •การตรวจหาแอนติเจนของไวรัสในชิ้นเนื้อสมอง จากศพ •การตรวจหาแอดติเจนในน้ำไขสันหลัง •การตรวจหาจีโนมของไวรัสในน้ำไขสันหลัง -การแยกเชื้อ -การตรวจหาแอนติบอดี -การตรวจหา IGM จำเพาะในน้ำไขสันหลัง

  11. การรักษาป้องกันและควบคุมการรักษาป้องกันและควบคุม -การรักษายังไม่มียาเฉพาะ -การควบคุมสัตว์เลี้ยงที่สามารถแพร่พันธุ์เชื้อ -ควบคุมยุงที่เป็นพาหะนำโรค -ป้องกันไม่ให้ยุงกัด -การฉีดวัคซีนป้องกันโรคในคน และสัตว์เลี้ยง -ใช้มาตรการสาธารณสุข

  12. ระบาดวิทยา -พบในประเทศแถบเอเชีย -ประเทศไทยพบครั้งแรกปี พ.ศ. 2512 ที่ จังหวัดเชียงใหม่ -ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอายุ0น้อยกว่า 15ปี -พบมากในกลุ่มอายุ 5-9 ปี -พบมากในฤดูฝน

More Related