1 / 20

สำนักงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ภาค 2

สำนักงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ภาค 2. เลขที่ 222/4 หมู่ 3 ตำบลเสม็ด อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ 038-467840-3 โทรสาร 038-467844. สถานการณ์ ยาเสพติด ระดับพื้นที่ในช่วงปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะ ยาเสพติด ปี 2556. แหล่งผลิตและเส้นทางลำเลียง ยาเสพติด.

sherry
Télécharger la présentation

สำนักงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ภาค 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภาค 2 เลขที่ 222/4 หมู่ 3 ตำบลเสม็ด อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ 038-467840-3 โทรสาร 038-467844

  2. สถานการณ์ยาเสพติดระดับพื้นที่ในช่วงปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดสถานการณ์ยาเสพติดระดับพื้นที่ในช่วงปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ปี 2556

  3. แหล่งผลิตและเส้นทางลำเลียงแหล่งผลิตและเส้นทางลำเลียง ยาเสพติด

  4. แหล่งผลิตยาเสพติดและเส้นทางการลำเลียง กลุ่มอดีต MTA, จีนฮ่อ กลุ่ม พ.อ.มหาจ่า ม.เล่าไก่ ม.มาว ม.แผน ม.ปางหวาย ม.ตังยาน ม.ปางซาง ม.ขัด เวียดนาม บ.หนองเขียว ม.ลา จว.เชียงตุง สบหลวย ม.กุนฮิง ม.เป็ง ม.พยาค ม.น้ำจ๋าง ม.ยอง ม.ตูม เชียงกก ม.สาด ม.หลวงน้ำทา ม.ลางเคอ บ.โป่ง ม.ต่วน จว.ท่าขี้เหล็ก บ.นากองมู บ.โฮ่ง บ.มอม บ.ห้วยอ้อ บ.หัวป่าง แม่สาย ม.ยอน เชียงของ บ.หัวยอด เชียงแสน ม.จ๊อด เวียงแก่น เชียงราย บ.กองทีวี เทิง เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พะเยา

  5. ชายแดน เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ผ่านภาคเหนือของ สปป.ลาว ก่อนเข้าไทย ทางภาค ต.อ./น. ลงมาทางชายแดน ไทย-พม่า ด้าน ต.ต. ผ่านภาคเหนือของ สปป.ลาว เข้ากัมพูชา เข้าไทยทางภาค ต.อ. หรือออกทะเล เส้นทางลักลอบนำเข้ายาเสพติด

  6. แหล่งผลิตภายในประเทศ วันที่ 22 เม.ย. 56 บช.น. จับกุมนายคัมซาน โคลิน มา สัญชาติฮ่องกง พร้อมของกลาง เครื่องอัดเม็ด ผลิตยาอี พร้อมหัวตอก 1 เครื่อง วันที่ 21 พ.ค. 56 สภ.หนองขาม จ.ชลบุรี จับกุมผู้ต้องหา 2 คน พร้อมอุปกรณ์ การผลิตยาบ้า วันที่ 29 พ.ย. 55 ปช.ปส. จับกุมชาวอิหร่าน 3 คน เช่าบ้านในเมืองพัทยา จ.ชลบุรึ เพื่อผลิตไอซ์แบบ Kitchen Lap วันที่ 11 เม.ย. 56 ตร.ภ.7 จับกุมนายสำเริง เฮงราย เจ้าของ โรงกลึง อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี

  7. ผลการจับกุม

  8. จำนวนคดีที่จับกุม / ผู้ต้องหา เพิ่มขึ้นจากเดิม 12.33% เพิ่มขึ้นจากเดิม 15.72%

  9. ปริมาณของกลาง เพิ่ม 15.8 % เพิ่ม 87.4 % เพิ่ม 15.8 % เพิ่ม 23.93 %

  10. ผลดำเนินงาน ด้านบำบัด

  11. สัดส่วนผู้เข้ารับการบำบัดทั้งหมดสัดส่วนผู้เข้ารับการบำบัดทั้งหมด จากเป้า 300,000 คน ต.ค. 55 – 30 มิ.ย. 56

  12. แนวโน้มของสถานการณ์ยาเสพติดแนวโน้มของสถานการณ์ยาเสพติด 1. แหล่งผลิตนอกประเทศยังผลิตยาเสพติดได้ไม่จำกัด (สารเคมีเข้าทางจีน อินเดีย สปป.ลาว) 2. ถ้าแหล่งผลิตในรัฐฉานผลิตไอซ์เป็นหลัก ไอซ์จะเข้ามาแพร่ระบาดแทนยาบ้าได้ในอนาคต 4-5ปี ข้างหน้า การลักลอบนำเข้าไอซ์ต่อครั้งจะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น 3. นอกจากการนำเข้าทางด้านภาคเหนือแล้ว ยังกระจายไปนำเข้าทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น 4. เครือข่ายนักค้าระดับสำคัญยังไม่ถูกทำลาย

  13. “ยาเสพติดที่ต้องเฝ้าระวัง“ยาเสพติดที่ต้องเฝ้าระวัง เป็นพิเศษ”

  14. ลักษณะของไอซ์ ไอซ์(Ice/เมทแอมเฟตามีน) - ก้อนผลึกใสเหมือนน้ำแข็ง มีความบริสุทธิ์สูง - กระตุ้นจิตใจ ระบบประสาท พึงพอใจ เคลิบเคลิ้ม ร่างกายซูบผอมหวาดระแวง หลอน คลุ้มคลั่ง เหมือนกับยาบ้า เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

  15. วิธีการเสพไอซ์ การเสพไอซ์ 3 วิธี คือ -การสูบ -การฉีด -การนัตถุ์ วิธีที่นิยม คือ การสูบดมควันโดยการเผาไฟแล้วสูดควันผ่านน้ำ อุปกรณ์การเสพ

  16. จำนวนคดีและไอซ์ ปี 2550 - 2554 อัตราเพิ่มในระยะ 5 ปี (2550-2554) คดีร้อยละ 780.28 ปริมาณไอซ์ ร้อยละ 2,395.83

  17. แนวโน้มสถานการณ์ไอซ์ • ปัจจัยของการแพร่ระบาด • ออกฤทธิ์เหมือนยาบ้า ความบริสุทธิ์เกิน 80% • สร้างความเชื่อว่าเสพไอซ์ ผิวขาว ไม่ทรุดโทรม • ผู้ขายวางตลาดราคาถูก นน. 0.10 กรัม (300-500 บาท) กระจายเร็ว • ผู้ผลิตและผู้ค้าเป็นกลุ่มเดียวกับยาบ้า • ไอซ์ มีขั้นตอนผลิตน้อย • แหล่งผลิตไอซ์ • สามเหลี่ยมทองคำ • * นำเข้าไทยเกินกว่าร้อยละ 80 • ทวีปแอฟริกาและอิหร่าน • นำเข้าไทย ร้อยละ 10-20 • การนำผ่านไปยังประเทศ อื่น ๆ เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น • ราคาขาย • และการแพร่ระบาด • ชายแดน : กิโลกรัม 700,000-800,000 บาท • พื้นที่ตอนใน • กทม.: กิโลกรัม • 1.5-2 ล้านบาท • รายย่อย • 1 กรัม/จี =2,500-3,000-0.50กรัม = 1,500-2,000 • 0.10 กรัม(ตัก)=300-500 บาท

  18. จบการนำเสนอ

More Related