440 likes | 712 Vues
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กับการจัดการความรู้. โดย ดร.จิรัชฌา วิเชียรปัญญา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต สำนักงานทะเบียน มหาวิทยาลัยรังสิต 22 มีนาคม 2555. ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้. กรณีตัวอย่าง. 1. 4. ระบบสารสนเทศและ ระบบการจัดการความรู้. 2.
E N D
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการจัดการความรู้ โดย ดร.จิรัชฌา วิเชียรปัญญา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต สำนักงานทะเบียน มหาวิทยาลัยรังสิต 22 มีนาคม 2555
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ กรณีตัวอย่าง 1 4 ระบบสารสนเทศและ ระบบการจัดการความรู้ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการจัดการความรู้ 3 แนวทางการบรรยาย Company Logo
ยุคที่ 1 คือ โลกาภิวัตน์ 1.0 อาศัยอำนาจของประเทศในการขับเคลื่อน อาศัยปัจเจกบุคคล อาศัยบรรดาบริษัทข้ามชาติ ยุคที่ 3 คือ โลกาภิวัตน์ 3.0 ยุคที่ 2 คือ โลกาภิวัตน์ 2.0 ยุคของโลกาภิวัตน์ Company Logo
ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาวน์ปัญญาแตกต่างกันอย่างไร (1) ข้อมูล (Data) ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล กลุ่มของข้อมูลดิบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน สารสนเทศ (Information) ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว ผลรวมของข้อมูลที่มีความหมาย ความรู้ (Knowledge) ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศ โดยมีการ จัดระบบความคิดเกิดเป็น “ความรู้และความเชี่ยวชาญ” Company Logo
ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด และเชาวน์ปัญญาแตกต่างกันอย่างไร (2) ความเฉลียวฉลาด (Wisdom) การนำเอาความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อการทำงานในสาขาวิชาต่างๆ เชาวน์ปัญญา (Intelligence) ผลจากการปรับแต่งและจดจำความเฉลียวฉลาดต่างๆ ซึ่ง ก่อให้เกิดความคิดที่ฉับไว ขัดเกลา / เลือกใช้ บูรณาการ ปรับแต่ง / จดจำ ประมวลผล เชาวน์ปัญญา ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ความเฉลียวฉลาด Company Logo
ประเภทของความรู้ ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) ความรู้เฉพาะตัวที่เกิดจากประสบการณ์ การศึกษา การสนทนา การฝึกอบรม เจตคติของแต่ละบุคคล เป็นความรู้บวกกับ สติปัญญา และประสบการณ์ ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลออกมาในรูปของ การบันทึกในรูปแบบต่างๆ ซึ่งก็คือสารสนเทศนั่นเอง ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม (Culture Knowledge) ความรู้ที่เกิดจากความเชื่อ ความศรัทธา ซึ่งเกิดจากผลสะท้อน กลับของความรู้และสภาพแวดล้อมขององค์กร Company Logo
ระบบสารสนเทศ VS ระบบการจัดการความรู้ EIS เชาวน์ปัญญา DSS ความเฉลียวฉลาด KMS ความรู้ MIS สารสนเทศ ข้อมูล TPS Company Logo
ระดับการทำงานของระบบสารสนเทศระดับการทำงานของระบบสารสนเทศ Strategic-level System EIS 5-year sales Trend Forecast 5-year Operation Plan 3-year Operation Plan Profit Planning Personal Planning Management-level System MIS Sales management Inventory control Annual Budgeting Capital Investment analysis Cost analysis DSS Office Information System Graphic Workstations Engineering Workstations Word Processing Document Imaging Word Processing OIS Operational-level System Cash Management Plant scheduling Payroll Account payable Account Receivable Order Processing TPS Company Logo
ความหมายของระบบสารสนเทศ (Information Systems) กลุ่มของระบบงานที่ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์และ พีเพิลแวร์ที่ทำหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแจกจ่าย สารสนเทศเพื่อการวางแผนการควบคุม และการตัดสินใจ ภายในองค์กร กระบวนการแก้ปัญหาที่มีการจัดโครงสร้างไว้เป็นอย่างดีและ สอดคล้องกับความต้องการสารสนเทศที่นำมาใช้เพื่อสนองต่อ ความท้าทายใหม่ๆ จากสิ่งแวดล้อมขององค์กรที่มีการ ปรับเปลี่ยนตลอดเวลา ถือได้ว่าระบบสารสนเทศเป็น“ระบบ สัญญาณเตือนภัย”ที่ดีสำหรับองค์กร Company Logo
ระดับการทำงานของระบบสารสนเทศระดับการทำงานของระบบสารสนเทศ ระดับวางแผนกลยุทธ์ระยะยาว (Strategic Planning) ส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับผู้บริหารระดับสูงในองค์กร ซึ่งเน้นในเรื่องการ กำหนดเป้าหมายขององค์กร ระบบสารสนเทศจะเกี่ยวข้องกับสารสนเทศ ที่เป็นปัจจัยภายในและภายนอกองค์กรและรายงานสรุปต่างๆ ระดับวางแผนการบริหาร (Tactical Planning) ส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับผู้บริหารระดับกลางในองค์กรซึ่งมีหน้าที่ใน การวางแผน เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามแผนระยะยาวที่กำหนดไว้ ตามแผนกลยุทธ์ขององค์กรสารสนเทศที่ต้องการมักเป็นสารสนเทศตาม คาบเวลา สารสนเทศที่เป็นรายงานการวิเคราะห์ Company Logo
ระดับการทำงานของระบบสารสนเทศระดับการทำงานของระบบสารสนเทศ ระดับวางแผนปฏิบัติการ (Operational Planning) ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารระดับต้นซึ่งมีหน้าที่ ควบคุมการ ปฏิบัติงานประจำวัน และการวางแผนบริหารงานที่เกี่ยวข้องกับ ระยะเวลาสั้นๆ สารสนเทศที่ต้องการมักเป็นแผนงานประจำวัน ประจำสัปดาห์ หรือประจำไตรมาส ระดับปฏิบัติการ (Clerical) จะเกี่ยวข้องกับงานที่ต้องทำซ้ำๆ กันประจำวัน เป็นส่วนของ ข้อมูลนำเข้าสู่ระบบสารสนเทศ Company Logo
ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ระบบสารสนเทศกับการจัดการความรู้ 1. การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information Systems) Office Automation Systems (OAS) Electronic Document Management systems (EDM) Management Information Systems (MIS) Knowledge Work Systems (KMS) Decision Support Systems (DSS) Executive Information Systems (EIS) Company Logo
ระบบการจัดการความรู้ กระบวนการแปลงความรู้เชิงโครงสร้าง ทำให้เกิดความรู้ใหม่ Tacit Knowledge Explicit Knowledge การแปลงความรู้ ที่ไม่มีโครงสร้าง เป็นความรู้เชิงโครงสร้าง กลยุทธ์ นโยบาย แผนงาน สารสนเทศ ความชำนาญ ประสบการณ์ วัฒนธรรมองค์กร ความคิด ทัศนคติ ความสามารถที่แท้จริง ขององค์กร Company Logo
ระบบฐานความรู้กับการจัดการความรู้ระบบฐานความรู้กับการจัดการความรู้ 2. การพัฒนาระบบฐานความรู้ (Knowledge-basedSystems) การทำงานที่เป็นเลิศ (Best Practices) Lesson Learned แนวทางการแก้ไขปัญหาในการทำงาน (Solution-based) กรณีศึกษา (Case-based) ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Directory) Company Logo
ระบบการเรียนรู้กับการจัดการความรู้ระบบการเรียนรู้กับการจัดการความรู้ 3. การพัฒนาระบบการเรียนรู้ (Learning Technology) E-learning Knowledge Portal Web-based Training Web-based Learning 4. การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการทำงานร่วมกัน (Collaborative Technology) Group Collaboration Systems Workflow Management Systems Groupware Company Logo
Knowledge Portal เป็นระบบที่รวบรวมความรู้ทั้ง explicit และ tacit ให้อยู่ในที่เดียวกันเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นหาความรู้เฉพาะเรื่องเพื่อความสะดวกรวดเร็วต่อการเรียนรู้ Knowledge Portal จะประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ ระบบเชื่อมต่อฐานความรู้ และระบบการค้นหา (Search Engine) โดยระบบเชื่อมต่อฐาน ความรู้จะอยู่ในลักษณะ web-based เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกในมาตรฐานเดียวกัน ระบบเชื่อมต่อฐานความรู้จะทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลและจัดแบ่งข้อมูลออกเป็นประเภทต่างๆ เพื่อความสะดวก ในการค้นหา และเรียกใช้ข้อมูลต่างระบบผ่านการค้นหา (Search Engine) Company Logo
Knowledge Portal Company Logo
เทคโนโลยีการสื่อสารกับการจัดการความรู้เทคโนโลยีการสื่อสารกับการจัดการความรู้ 5. การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร (Communication Technology) Internet / IntranetE-mail Web board Chat BlogTele-conference Online Community of Practices (CoPs) Social Media Company Logo
Web Blog Web log นิยมเรียกสั้นๆ ว่า Blog เว็บไซต์ที่มีรูปแบบง่ายๆ ส่วนมากมักเป็นเว็บไซต์ในลักษณะ ส่วนตัว เป็นการสร้างบล็อกเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ หรือ การเรียนรู้ส่วนตัว หรือเหตุการณ์ที่ประทับใจ โดยเนื้อหาของ แต่ละบล็อกจะเรียงลำดับจากเนื้อหาที่ใหม่ล่าสุดย้อนหลังไป เรื่อยๆ ผู้ที่สร้าง Blog เรียกว่า Blogger Company Logo
Web Blog องค์ประกอบของ Blog • หัวข้อ (Title) ซึ่งเป็นหัวข้อสั้นๆ • เนื้อหา (Post หรือ Content) เป็นเนื้อหาหลักที่คนสร้าง Blog ต้องการบอกให้ทราบ • วัน เดือน ปี ที่เขียน (Date) Company Logo
Social Media เป็นสื่อที่แพร่กระจายด้วยปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม (social interaction) เป็นสื่อที่เปลี่ยนแปลงสื่อเดิมที่แพร่กระจายข่าวสารแบบทางเดียว เป็นแบบการสนทนาที่สามารถมีผู้เข้าร่วมได้หลายๆ คน (many-to-many) เป็นสื่อที่เปลี่ยนผู้คนจากผู้บริโภคเนื้อหาเป็นผู้ผลิตเนื้อหา (content producers) Company Logo
Information Technology VS KM Process Company Logo
สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน: Management of Information เป้าหมายโครงการ (Desired State) จัดทำฐานความรู้ (Knowledge-based) เกี่ยวกับการบริหารจัดการทั่วไปที่บุคลากรทุกคนในกระทรวงฯ สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและตรงกับความต้องการ Company Logo
กระบวนการของระบบ (List of Processes) 1. แปลงเอกสารให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอล 2. จัดเก็บในระบบฐานข้อมูล 3. ตรวจสอบเอกสาร 4. จัดเก็บเป็นฐานความรู้ 5. ค้นคืน ใช้ความรู้และแบ่งปันความรู้ 6. ออกรายงาน Company Logo
Knowledge-based Case-based Best-Practices Expert Knowledge-based Systems Flow ข้อมูลดิบ Verification Expert Database Utilization & Sharing User Web Browser Administrator M-base Company Logo
กระบวนการพัฒนาฐานความรู้ (1) Company Logo
กระบวนการพัฒนาฐานความรู้ (2) Company Logo
กระบวนการพัฒนาฐานความรู้ (3) Company Logo
Q & A Company Logo