1 / 19

โรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทย

โรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทย. Rice Ragged Stunt. ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย. โรคใบหงิกหรือโรคจู๋ของข้าว ( Rice Ragged Stunt ) เชื้อสาเหตุ Rice ragged stunt virus รูปร่างกลมขนาด 50-70 nm ลักษณะอาการ

shona
Télécharger la présentation

โรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทยโรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทย

  2. Rice Ragged Stunt ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  3. โรคใบหงิกหรือโรคจู๋ของข้าวโรคใบหงิกหรือโรคจู๋ของข้าว • (Rice Ragged Stunt) • เชื้อสาเหตุ Rice ragged stunt virus • รูปร่างกลมขนาด 50-70 nm • ลักษณะอาการ • 1. ต้นข้าวแสดงอาการแคระแกรน (Stunting) • 2. ขอบใบขาดเป็นริ้ว (Ragged leaf) • 3. ใบหงิกและบิดม้วน (Twisted leaf) • 4. ผิวใบธงด้านนอกเกิดเป็นตุ่มนูน (vein-swelling) • 5. ข้าวไม่ออกรวงหรือรวงออกไม่พ้นใบธง • การแพร่ระบาด 1. มีเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Nilaparvatalugen) เป็นพาหะ • 2. ไม่ถ่ายทอดทางเมล็ด • การควบคุมโรค • 1. ใช้พันธุ์ข้าวต้านทานแมลงกข 21 กข 23 (ยังไม่พบพันธุ์ต้านทานโรค) • 2. ควบคุมแมลงพาหะโดยการฉีดพ่นยาเมื่อนับแมลงได้เกินระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ • 3. ทำลายต้นเป็นโรค

  4. Papaya Ringspot Disease ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  5. โรคใบด่างหรือใบจุดวงแหวนของมะละกอโรคใบด่างหรือใบจุดวงแหวนของมะละกอ • (Papaya ringspot disease) • เชื้อสาเหตุ Papaya ringspot virus • อนุภาคแบบflexuous rod ขนาด 12x760-800 nm. • ลักษณะอาการ 1. ใบมะละกอแสดงอาการด่างเขียวเข้มสลับเขียวอ่อน • 2. ใบมีขนาดเล็กลงบิดเบี้ยวและรูปร่างผิดปกติผิวใบเป็นคลื่น • 3. บางครั้งเนื้อใบขาดหายเหลือแต่เส้นใบ • 4. ที่ก้านใบและลำต้นเกิดแผลเป็นขีดสีเขียวฉ่ำน้ำ • 5. ผิวของผลเกิดแผลเป็นวงกลมซ้อนกัน • การแพร่ระบาดมีเพลี้ยอ่อนฝ้ายAphisgossypii Glov. และเพลี้ยอ่อนถั่ว • Aphiscraccivora Koch. เป็นพาหะ • การควบคุมโรค • 1. กำจัดต้นที่เป็นโรค • 2. ปลูกภูมิต้านทาน • 3. ควบคุมแมลงไม่ได้ผล

  6. Citrus Tristeza ที่มา : รัตนา สดุดี . 2537. โรคโทรมของส้มจุก : เชื้อสาเหตุและปัจจัยส่งเสริมความรุนแรงของโรค

  7. โรคทริสเตซาของส้ม • (Citrus tristeza) • เชื้อสาเหตุ Citrus tristeza virus • รูปร่างFlexuous rod 10-13x2000 nm • พืชอาศัยและลักษณะอาการ • มะนาว- อาการเส้นใบใส (vein clearing) • - ใบโค้งงอคล้ายรูปถ้วย (cup leaf) • - เนื้อไม้ใต้เปลือกเป็นรู (stem pitting) • ส้มเขียวหวาน- อาการโทรม (declining) • - อาการแห้งจากปลายยอด (die back) • - ใบเหลืองมีขนาดเล็กลง • ส้มโอ- แคระแกรน • - เส้นใบแข็งนูนขึ้นหรือเส้นใบแตก (corky vein) • การแพร่ระบาด • 1. CTV ถ่ายทอดได้โดยแมลงพาหะคือเพลี้ยอ่อนส้ม (ToxopteracitricidaและT.aurantii) • 2. ติดไปกับท่อนขยายพันธุ์ (กิ่งตอน, ตา) • การควบคุมโรค • 1. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปลอดเชื้อ (โดยผ่านการทดสอบแล้วปราศจากเชื้อทริสเตซา) • 2. ทำลายต้นส้มที่เป็นโรค • 3. ป้องกันและกำจัดแมลงพาหะ

  8. Cymbidium Mosaic ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  9. โรคยอดบิดหวายมาดาม (Cymbidium Mosaic) เชื้อสาเหตุ Cymbidium Mosaic Virus (CyMV) Flexuous rod ขนาด 11-13x480 nm. ลักษณะอาการ - กล้วยไม้หวายปอมปาดัวร์เกิดอาการchlorotic streak บนใบตามความยาวของใบผิวใบขรุขระ - ยอดของกล้วยไม้จะบิด - ช่อดอกสั้นลงและเกิดอาการดอกด่าง การแพร่ระบาด - CyMV ถ่ายทอดได้ง่ายโดยวิธีกลจึงอาจติดไปกับกรรไกรและมีfตัดแต่ง - ไม่ถ่ายทอดผ่านทางเมล็ด การควบคุมโรค 1. ไม่ขยายพันธุ์กล้วยไม้ที่เป็นโรค 2. เผาทำลายกล้วยไม้ที่เป็นโรคเพื่อลดแหล่งแพร่ระบาด 3. ทำความสะอาดกรรไกรและมีดด้วยสารละลายด่าง (Tri-sodium phosphate) 4. เลือกซื้อและคัดพันธุ์กล้วยไม้ที่ปราศจากไวรัสในการปลูก

  10. Tomato Yellow Leaf Curl ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  11. โรคใบหงิกเหลืองของมะเขือเทศโรคใบหงิกเหลืองของมะเขือเทศ • (Tomato yellow leaf curl) • เชื้อสาเหตุTomato yellow leaf curl virusรูปร่างกลมติดกันเป็นคู่ • ขนาด 18x30 nm. • ลักษณะอาการ • 1. ใบม้วนงอเนื้อใบหงิกเป็นคลื่นใบเหลืองจากขอบใบ • 2. ต้นแคระแกรน • การแพร่ระบาด • 1. ถ่ายทอดโดยแมลงหวี่ขาว (Bemisiatabaci Genn.) • การควบคุมโรค • 1. ทำลายต้นที่เป็นโรค • 2.รองก้นหลุมปลูกด้วยยาฆ่าแมลงประเภทดูดซึม • และฉีดยาสม่ำเสมอจนมะเขือเทศอายุ 60-75 วัน

  12. Cowpea Aphid-borne Mosaic ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  13. โรคถั่วที่เกิดจากไวรัสโรคถั่วที่เกิดจากไวรัส • โรคใบด่างเหลืองเชื้อสาเหตุCowpea-aphid borne mosaic virus (CAMV) • รูปร่างFlexuous ขนาด 12x750 nm. • ลักษณะอาการ - พบอาการด่างเหลืองบนเนื้อใบระหว่างเส้นใบหรือแสดงอาการด่างสีเขียวอ่อนสลับเขียวเข้มกระจายไปทั่วใบ • - มักพบอาการvein banding • - หากอาการรุนแรงมากใบจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองไม่มีสีเขียวเหลืออยู่ • - ใบบิดเบี้ยวและเล็กกว่าปกติโดยทั่วไปถั่วฝักยาวจะเจริญจนได้ฝัก • การแพร่ระบาด • - ถ่ายทอดทางเมล็ด • - มีเพลี้ยอ่อนเป็นพาหะ • การควบคุม • 1. ใช้เมล็ดจากต้นที่ไม่เป็นโรคเพราะCAMV ถ่ายทอดผ่านทางเมล็ด (13.3%) • 2. การควบคุมแมลง (เพลี้ยอ่อน) ไม่ให้แพร่ขยายพันธุ์ก่อนปลูก

  14. Pepper Mosaic (CMV) ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  15. 1. โรคใบด่างพริกที่เกิดจากCucumber mosaic virus • รูปร่างกลมขนาด30 nm. • ลักษณะอาการ- ใบด่างสีเขียวเข้มสลับสีเขียวอ่อน • - ใบมีขนาดเล็กกว่าปกติ • - ใบเรียวเล็กบางครั้งเกิดอาการshoe string (คือเหลือเฉพาะเส้นใบ) • การแพร่ระบาด- ถ่ายทอดโดยการสัมผัส • - ถ่ายทอดทางเมล็ด • - มีเพลี้ยอ่อนเป็นพาหะ • การควบคุมโรค1. ไม่ควรปลูกพริกใกล้กับแตงหรือมะเขือเทศเพราะพืชเหล่านี้เป็นโรคได้ง่ายและถ่ายทอดได้ด้วยแมลง • 2. กำจัดวัชพืชซึ่งอาจเป็นแหล่งของเชื้อทั้งในและรอบๆแปลงปลูก

  16. Pepper Mosaic (pepper Mottle) ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  17. 2.โรคใบด่างพริกเกิดจากเชื้อPepper mottle virus รูปร่างท่อนยาว (Flexuousrod) ขนาด12 x 77 nm ลักษณะอาการ- เส้นใบใสต่อมาแสดงอาการด่าง - ใบแก่แสดงอาการด่างสีเขียวเข้มตามแนวเส้นใบสลับกับสีเขียวอ่อนบริเวณเนื้อ ใบ (vein banding) - ต้นแคระแกรน การแพร่ระบาด- ถ่ายทอดได้ง่ายโดยวิธีสัมผัส การควบคุมโรค- เช่นเดียวกับโรคใบด่างพริกที่เกิดจากTMV

  18. Pepper Mosaic (TMV) ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย

  19. โรคใบด่างของพริก • 3. โรคใบด่างที่เกิดจากเชื้อTMV (Tobacco mosaic virus) • รูปร่างRigid rod ขนาด18 x 300 nm • ลักษณะอาการ- เกิดอาการใบด่างสีซีดระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis) • - ใบหงิกงอ • - เส้นกลางใบคดไปมา • - ผลมีขนาดเล็ก • - ต้นแคระแกรน • การแพร่ระบาด- ถ่ายทอดได้ง่ายโดยการสัมผัส • - สามารถถ่ายทอดผ่านทางเมล็ดในพริกบางพันธุ์ • การควบคุมโรค- กำจัดวัชพืชก่อนปลูกเพราะอาจเป็นพืชอาศัยของTMV • - ทำลายต้นที่เป็นโรค • - ระวังการถ่ายทอดขณะทำการเขตกรรมเช่นการใส่ปุ๋ยการไถพรวน

More Related