140 likes | 338 Vues
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุข. ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์. ชุมชน/หมู่บ้าน มีความสุขมวลรวมชุมชน ( GVH ) เพิ่มขึ้น. ครัวเรือนยากจน มีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. คุณภาพ การให้บริการ. เสริมสร้างความสุขมวลรวม หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง.
E N D
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุข ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ชุมชน/หมู่บ้านมีความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) เพิ่มขึ้น ครัวเรือนยากจนมีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. คุณภาพการให้บริการ เสริมสร้างความสุขมวลรวมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง แก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ สนับสนุนสื่อและเครื่องมือ พัฒนากลไกการบูรณาการความยากจน พัฒนา/ส่งเสริมระบบฐานข้อมูลชุมชน การพัฒนาองค์กร
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขกลยุทธ์ ๑.๑ แก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ยุทธ ผู้มีส่วนร่วม : ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ. ครัวเรือนยากจนมีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. พัฒนากลไก/เครือข่าย และฐานข้อมูล ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ -ธ.ค.๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๙ • ทบทวนกลไกและสร้างความเข้าใจ(๒๑ คณะ) • ตรวจสอบข้อมูล และค้นหาครัวเรือน ยากจนเป้าหมาย (๑,๓๑๗ ครัวเรือน) • สร้างเครือข่ายภาคีแก้ไขปัญหา ความยากจน (๑ เครือข่าย) • ส่งเสริมกระบวนการชุมชนแก้ไข ปัญหาความยากจน (๑,๓๑๗ ครัวเรือน) • ติดตามและประเมินผล (๒๐ อำเภอ ๑,๓๑๗ ครัวเรือน) Flagship โครงการ/กิจกรรม Quickwin 2
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขกลยุทธ์ ๑.๒ เสริมสร้างความสุขมวลรวมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ. ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ชุมชน/หมู่บ้านมีความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) เพิ่มขึ้น แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ • พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (ปีละ ๒๐ หมู่บ้าน รวม ๑๐๐ หมู่บ้าน) • รักษามาตรฐานการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (๑๖๓ หมู่บ้าน) • ประเมินความสุขมวลรวม (๑๖๓ หมู่บ้าน) Flagship Flagship โครงการ/กิจกรรม 3
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการ ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผู้นำ กลุ่ม องค์กร เครือข่าย มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน ชุมชนนำแผนชุมชนไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ ข้อมูล จปฐ.และกชช.2ค ได้รับการยอมรับ และใช้ประโยชน์ ชุมชนมีการจัดการความรู้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ พัฒนาคุณภาพชีวิตและเผยแพร่ คุณภาพการให้บริการ ส่งเสริมการบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ ส่งเสริมการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน เพิ่มขีดความสามารถผู้นำกลุ่ม องค์กร เครือข่าย ในการบริหารจัดการชุมชนแบบมืออาชีพ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ จัดทำฐานข้อมูลด้านการบริหารจัดการชุมชน พัฒนาบุคลากรให้เป็นนักจัดการชุมชน สร้างคลังข้อมูลชุมชน การพัฒนาองค์กร
ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๑ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ กลุ่ม องค์กร เครือข่าย ในการบริหารจัดการชุมชนแบบมืออาชีพ ผู้นำ กลุ่ม องค์กร เครือข่าย มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน พัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน เสริมสร้างพลังเครือข่ายพัฒนาชุมชน สร้างคุณค่าผู้นำ เครือข่าย แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ • พัฒนาระบบบูรณาการรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่าย (๒ เครือข่าย) • ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.) (ปีละ ๔๐คน/๒๐ กลุ่ม/๒๐ เครือข่าย/๒๐ หมู่บ้าน) • เสริมสร้างพลังเครือข่ายพัฒนาความร่วมมือ NGO และภาพเอกชน (๒ เครือข่าย) • เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการของศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน/สมาคม/สมาพันธ์ (๒๐ องค์กร) • ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการ องค์กรและเครือข่ายสตรี และเยาวชน(๒๐ เครือข่าย) • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารงานพัฒนาชุมชน(๒๐ อำเภอ) • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารของจังหวัด/อำเภอ(๒๑คณะ) • ส่งเสริมบทบาท อช./ผู้นำ อช. ให้มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน (๓๔๖ คน) • พัฒนาเส้นทางความก้าวหน้าของผู้นำชุมชนและเครือข่าย(๒๘๐ คน ๒ เครือข่าย) • จัดตั้งคณะกรรมการความร่วมมืออาสาสมัครทุกระดับและภาคส่วน(๒๑ คณะ) • เพิ่มศักยภาพองค์กร เครือข่าย ผู้นำชุมชน ผู้นำสตรี และผู้นำเยาวชน ให้เป็นผู้ชำนาญการด้านการบริหารจัดการชุมชน(ปีละ ๒๑ ครั้ง) • ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้นำการพัฒนาดีเด่น (ปีละ ๒๐ คน) • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานในระดับจังหวัด (ปีละ ๑๒ ครั้ง) Flagship Quickwin โครงการ/กิจกรรม Flagship 5
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๒ ส่งเสริมการบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ยุทธฯ ผู้มีส่วนร่วม : ก.ส่งเสริม ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. พัฒนากลไก ในการขับเคลื่อนแผนชุมชน พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน เพิ่มมูลค่าแผนชุมชนสู่นโยบายระดับชาติ แผนชุมชนนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ แผนงาน ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๙ • ส่งเสริมและพัฒนาวิทยากรกระบวนการชุมชน (๒๑ คณะ) • เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนในการขับเคลื่อนแผนชุมชน (๒๐ คณะ) • บูรณาการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๒๑ คณะ) • ประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานแผนชุมชน/ตำบล (๗๐% ของหมู่บ้าน) • ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายกรรมการทำแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานแผนชุมชน (๒๑ เครือข่าย) • สร้าง MOU กับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานอื่น เพื่อพัฒนาความเชื่อมั่นของระบบแผนชุมชน (๒ หน่วยงาน) • แลกเปลี่ยนเรียนรู้การก้าวสู่แผนชุมชนมีคุณภาพมาตรฐาน และวาระแห่งชุมชน (ปีละ ๕ ครั้ง) • ส่งเสริมแผนชุมชนในการจัดทำยุทธศาสตร์ชุมชนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (๔ หมู่บ้าน) นำร่อง Flagship Best Practice Best Practice โครงการ/กิจกรรม 6
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๓ ส่งเสริมการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.สารสนเทศ ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.ส่งเสริม ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. พัฒนาระบบบริหารการจัดเก็บข้อมูลการพัฒนาชนบทให้มีคุณภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการใช้ประโยชน์ของข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท แผนงาน ข้อมูล จปฐ. และ กชช.๒ค ได้รับการยอมรับและใช้ประโยชน์ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ • พัฒนากระบวนการบริหารข้อมูล เพื่อการพัฒนาชนบทไทย (๑ กระบวนการ) • องค์กรปกครองท้องถิ่นนำร่อง “ข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องทุกครัวเรือน” (๒๐ อปท.) • นำเสนอระเบียบวาระแห่งจังหวัดเรื่อง คุณภาพชีวิตของคนร้อยเอ็ด (ปีละ ๑ ครั้ง) • นำเสนอระเบียบวาระแห่งจังหวัด เรื่องคุณภาพชีวิตของคนร้อยเอ็ด ระดับอำเภอ (ปีละ ๒๐ ครั้ง) • ส่งเสริมและสนับสนุนให้นายก อปท.และ ปลัด อปท. ใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ.กชช.๒ค อย่างจริงจัง (๒๐ แห่ง) Quickwin Quickwin โครงการ/กิจกรรม
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.สารสนเทศ/ก.ยุทธฯ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. พัฒนากลไกและเครื่องมือขับเคลื่อนการจัดการความรู้ชุมชน สร้างเครือข่ายการจัดการความรู้ แผนงาน ชุมชนมีการจัดการความรู้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์พัฒนาคุณภาพชีวิตและเผยแพร่ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ ม.ค.-ก.ย. ๒๕๕๕ • พัฒนารูปแบบศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่เหมาะสม (ปีละ ๔ แห่ง) • สร้างและพัฒนาเครือข่ายนักจัดการความรู้ ภาคประชาชน (ปีละ ๔ แห่ง) • พัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ชุมชน (ปีละ ๑ คลังความรู้) • พัฒนาสื่อสำหรับนักจัดการความรู้ ภาคประชาชน (ปีละ ๑ ชุดความรู้) • จัดทำคู่มือแนวทางสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ชุมชน (๑ ชุด/คู่มือ) • จัดทำมาตรฐานศูนย์เรียนรู้ชุมชน (๑ มาตรฐาน) นำร่อง • พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ (Community Center) (จุดเรียนรู้ชุมชน ศูนย์เก็บความรู้ ศูนย์เรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้สมบูรณ์แบบ) (๗ ศูนย์) • KM Mobile (ปีละ ๔ ครั้ง) • บูรณาการศูนย์เรียนรู้ชุมชนกับกระทรวงไอซีที และกระทรวงศึกษาธิการ (ปีละ ๑ ศูนย์) • เชิดชูเกียรตินักจัดการความรู้และชุมชน แห่งการเรียนรู้ (ปีละ ๑ ครั้ง/๔ แห่ง) • สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชน (ปีละ๕ ครั้ง) • พัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้านไทยเพื่อการเรียนรู้ของชุมชนทางเครือข่ายออนไลน์ (www.moobanthai.com)(๒๐ หมู่บ้าน) Best Practice Quickwin โครงการ/กิจกรรม Quickwin
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ กลุ่มผู้ผลิต ผูประกอบการ เครือข่าย OTOPมีขีดความสามารถบริหารจัดการสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและมาตรฐาน ชุมชนมีการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ผลิต ผู้ประกอบการOTOPมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น คุณภาพการให้บริการ ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการอนุรักษ์สืบสานและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมช่องทางการตลาด เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เครือข่ายOTOP ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ พัฒนาฐานข้อมูลเศรษฐกิจฐานรากและคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาองค์ความรู้การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาบุคลากรด้านเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การพัฒนาองค์กร
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๑ เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เครือข่าย OTOP ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ. ส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP แผนงาน กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เครือข่าย OTOPมีขีดความสามารถบริหารจัดการสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ • ส่งเสริมประสิทธิภาพแผนธุรกิจ ( ๒๐๕ กลุ่ม) • ประเมินคุณภาพแผนธุรกิจ (๓๐๙ กลุ่ม) • พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ด้านการผลิต การบริหาร จัดการ การตลาด และการบริหารเครือข่ายในเชิงธุรกิจ ( ๒๐๕ กลุ่ม) • ส่งเสริมอาสาพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (๒๐ คน) Flagship โครงการ/กิจกรรม Flagship 10
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๒ ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน แผนงาน ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและมาตรฐาน ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ • ส่งเสริมกระบวนการ KBO สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์(๑๑๒ ผลิตภัณฑ์) • ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่กระบวนการคัดสรร หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (๒๖๗ ผลิตภัณฑ์) • ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านการรับรองมาตรฐาน (๒๖๗ ผลิตภัณฑ์) • คัดสรรผลิตภัณฑ์ OTOP ดีเด่นของจังหวัด (Provincial star OTOP : PSO) (๒ ผลิตภัณฑ์) Flagship Flagship โครงการ/กิจกรรม Best Practice 11
ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๓ ส่งเสริมการอนุรักษ์สืบสานและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาและอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนมีการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ • ขึ้นทะเบียนปราชญ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน (Hall of Fame) (๕ ประเภท ๒๐ คน) • บันทึกตำนาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น(๑๓๗ ชุมชน) • พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (ปีละ ๑ หมู่บ้าน) • ส่งเสริมและพัฒนาเยาวชน OTOP(ปีละ ๑ รุ่น) • เผยแพร่ภูมิปัญญา ท้องถิ่นผ่านสื่อ สาธารณะ (๓ ช่องทาง) • ส่งเสริมการนำข้อมูลคลัง ภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ ประโยชน์(๓ ช่องทาง) Flagship Quickwin โครงการ/กิจกรรม Flagship Best Practice 12
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๔ ส่งเสริมช่องทางการตลาด ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ส่งเสริมช่องทางการตลาด OTOP แผนงาน ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOPมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ • การจัดงานถนนคนเดิน (ปีละ ๔ ครั้ง) • ส่งเสริมช่องทางการตลาดเชิงรุก (OTOP Delivery/OTOP to the Factory/OTOP Mobile(ปีละ ๒ ครั้ง) • พัฒนาศูนย์ตำนาน OTOP ROIET สู่OTOP Distribution Province Center : DPC (๑ แห่ง) Flagship โครงการ/กิจกรรม Quickwin 13