1 / 35

โครงการสำรวจปัญหา และการแพร่กระจายของกลิ่นจากฟาร์มสุกร

โครงการสำรวจปัญหา และการแพร่กระจายของกลิ่นจากฟาร์มสุกร. รายงานฉบับสมบูรณ์. ค่ามาตรฐานกลิ่นที่เสนอแนะ. ค่าความเข้มข้นกลิ่น ณ ขอบเขตฟาร์ม ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับฟาร์มสุกรที่ก่อสร้างและดำเนินการแล้ว

sinead
Télécharger la présentation

โครงการสำรวจปัญหา และการแพร่กระจายของกลิ่นจากฟาร์มสุกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสำรวจปัญหาและการแพร่กระจายของกลิ่นจากฟาร์มสุกรโครงการสำรวจปัญหาและการแพร่กระจายของกลิ่นจากฟาร์มสุกร รายงานฉบับสมบูรณ์

  2. ค่ามาตรฐานกลิ่นที่เสนอแนะค่ามาตรฐานกลิ่นที่เสนอแนะ • ค่าความเข้มข้นกลิ่น ณ ขอบเขตฟาร์มใช้เป็นมาตรฐานสำหรับฟาร์มสุกรที่ก่อสร้างและดำเนินการแล้ว • ค่าระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) ระหว่างฟาร์มกับชุมชนหรือสถานที่สำคัญใกล้เคียงใช้เป็นมาตรฐานสำหรับฟาร์มสุกรที่จะสร้างขึ้นใหม่

  3. จากผลการศึกษาช่วงค่าความเข้มข้นกลิ่นที่มีผลต่อการตอบสนองของมนุษย์จากผลการศึกษาช่วงค่าความเข้มข้นกลิ่นที่มีผลต่อการตอบสนองของมนุษย์ • ระดับที่ตรวจจับกลิ่นได้(DT : Detection Threshold) ค่าความเข้มข้นกลิ่น 11-20 OU • ระดับที่ทำให้จำกลิ่นได้(RT : Recognition Threshold) ค่าความเข้มข้นกลิ่น 21-30 OU • ระดับที่ก่อให้เกิดความรำคาญ(AT : Annoyance Threshold) ค่าความเข้มข้นกลิ่น 31-40 OU

  4. ค่าความเข้มข้นกลิ่น ณ ขอบเขตฟาร์ม ค่าเสนอแนะ จากโครงการจัดทำเกณฑ์ปฏิบัติในการจัดการและควบคุมกลิ่นจากฟาร์มสุกร • ระยะที่ 1 : กำหนดค่าความเข้มข้นกลิ่นที่ริมรั้วฟาร์มไม่เกิน 40 OU • ระยะที่ 2 : กำหนดค่าความเข้มข้นกลิ่นที่ริมรั้วฟาร์มไม่เกิน 20 OU • ระยะที่ 3 : กำหนดค่าความเข้มข้นกลิ่นที่ริมรั้วฟาร์มไม่เกิน 10 OU AT (Annoyance threshold) DT (Detection threshold)

  5. ค่าความเข้มข้นกลิ่น ณ ขอบเขตฟาร์ม ค่าเสนอแนะ (จากผลการศึกษา) • ระยะที่ 1 : กำหนดค่าความเข้มข้นกลิ่นที่ริมรั้วฟาร์มไม่เกิน 40 OU • ระยะที่ 2 : กำหนดค่าความเข้มข้นกลิ่นที่ริมรั้วฟาร์มไม่เกิน 30 OU • ระยะที่ 3 : กำหนดค่าความเข้มข้นกลิ่นที่ริมรั้วฟาร์มไม่เกิน 20 OU AT (Annoyance threshold) RT (Recognition threshold) DT (Detection threshold)

  6. ค่ามาตรฐานระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) • ผลสำรวจจากแบบสอบถามชุมชน • ผลการคำนวณด้วยแบบจำลอง • ผลการตรวจวัดระดับความรุนแรงของกลิ่น

  7. ประเมินผลกระทบของกลิ่นจากแบบสอบถามชุมชนประเมินผลกระทบของกลิ่นจากแบบสอบถามชุมชน ฟาร์ม 1,500 เมตร 2,500 เมตร 3,500 เมตร 500 เมตร ระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) ที่จะทำให้ชุมชนไม่ได้รับความเดือดร้อนรำคาญจากกลิ่น เท่ากับ 1,500 เมตร

  8. ประเมินผลกระทบของกลิ่นจากผลการคำนวณด้วยแบบจำลองประเมินผลกระทบของกลิ่นจากผลการคำนวณด้วยแบบจำลอง ระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) ที่จะทำให้ชุมชนไม่ได้รับความเดือดร้อนรำคาญจากกลิ่น (≤ 30 OU) (คำนวณโดยใช้ข้อมูลอัตราการระบายกลิ่นจากฟาร์มสันพระเนตร) เท่ากับ 1,200 เมตร

  9. ประเมินผลกระทบของกลิ่นจากผลการตรวจวัดระดับความรุนแรงของกลิ่นรอบฟาร์มสุกรประเมินผลกระทบของกลิ่นจากผลการตรวจวัดระดับความรุนแรงของกลิ่นรอบฟาร์มสุกร ระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) ที่จะทำให้ชุมชนไม่ได้รับความเดือดร้อนรำคาญจากกลิ่น (≤ 30 OU) เท่ากับ 900 เมตร (ใช้ค่าสูงสุด) หรือ เท่ากับ 600 เมตร (ใช้ค่าต่ำสุด) ใช้เป็นค่าเสนอแนะ

  10. 1,500 1,000 Setback distances (m) 500 0 มิสซูรี ไอโอวา แคนซัส ฝรังเศส เยอรมัน อิลลินอยล์ โอกลาโฮมา เซาธ ดาโกตา จากแบบจำลอง จากแบบสอบถาม นอร์ธ แคโรไลนา จากการตรวจวัดกลิ่น เปรียบเทียบกับมาตรฐานระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) ของต่างประเทศ สูงกว่าค่ามาตรฐานของต่างประเทศ

  11. มาตรฐานระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) ของต่างประเทศ(แบ่งตามปริมาณการเลี้ยงสุกร) • ยุติธรรมสำหรับฟาร์มที่มีการเลี้ยงสุกรในจำนวนและชนิดที่ต่างกัน • ฟาร์มสุกรในประเทศไทย มีการเลี้ยงสุกรเป็นจำนวนไม่แน่นอน ตามอายุสุกรและสภาวะตลาด • พื้นที่คอกเลี้ยงสุกร เหมาะสำหรับใช้แทนปริมาณการเลี้ยงสุกรสูงสุดของแต่ละฟาร์ม

  12. มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร กรมปศุสัตว์ • ฟาร์มขนาดเล็กฟาร์มที่มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ตั้งแต่ 6 ถึงน้อยกว่า 60(เทียบเท่าจำนวนสุกรตั้งแต่ 50 ตัว ถึงน้อยกว่า 500 ตัว ) • ฟาร์มขนาดกลางฟาร์มที่มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์ตั้งแต่ 60 ถึง 600( เทียบเท่าจำนวนสุกรตั้งแต่ 500 ตัว ถึง 5,000 ตัว ) • ฟาร์มขนาดใหญ่ฟาร์มที่มีน้ำหนักหน่วยปศุสัตว์มากกว่า 600( เทียบเท่าจำนวนสุกรมากกว่า 5,000 ตัว )

  13. มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร กรมปศุสัตว์ • สุกรพ่อพันธุ์ ประมาณ 4-8 ตารางเมตร/ตัว • แม่พันธุ์ท้องว่าง ประมาณ 1.2-1.5 ตารางเมตร/ตัว • แม่พันธุ์ตั้งท้อง ประมาณ 1.2-3 ตารางเมตร/ตัว • คอกคลอดและแม่เลี้ยงลูก ประมาณ 3-4 ตารางเมตร/ตัว • สุกรขุน (พื้นคอนกรีต) ประมาณ 1.2-1.5 ตารางเมตร/ตัว • สุกรขุน (พื้นแสล็ต) ประมาณ 1.0 ตารางเมตร/ตัว ใช้เป็นตัวแทนพื้นที่คอกเลี้ยงสุกร

  14. เทียบตามมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร กรมปศุสัตว์ • ฟาร์มขนาดเล็กมีพื้นที่คอกเลี้ยงสุกรตั้งแต่ 60 ถึงน้อยกว่า 600 ตารางเมตร • ฟาร์มขนาดกลางมีพื้นที่คอกเลี้ยงสุกรตั้งแต่ 600 ถึง 6,000 ตารางเมตร • ฟาร์มขนาดใหญ่มีพื้นที่คอกเลี้ยงสุกรมากกว่า 6,000 ตารางเมตร

  15. ค่ามาตรฐานระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) • กำหนดระยะห่างจากสถานที่สำคัญใกล้เคียง-สถานศึกษาของรัฐ ทั้งที่สังกัดส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น-สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน-ศาสนสถาน ที่มีการประกอบศาสนกิจ • ยกเว้นให้สำหรับฟาร์มขนาดเล็ก การกำหนดมาตรฐานจะส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชนจำนวนมาก

  16. ค่ามาตรฐานระยะห่างน้อยที่สุด (Setback distance) • ใช้ผลการศึกษาจากฟาร์มสันพระเนตร-มีพื้นที่คอกเลี้ยงสุกรทั้งหมด 14,000 ตารางเมตร-เป็นตัวแทนฟาร์มสุกรขนาดกลางและขนาดใหญ่ • กำหนดค่าระยะห่างน้อยที่สุดเท่ากับ 900 เมตร (ช่วงเริ่มต้น) • ทำการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง • พิจารณาปรับปรุงการกำหนดค่ามาตรฐานต่อไปในอนาคต

  17. การดำเนินการระยะต่อไปในอนาคตของ คพ. • พัฒนาอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในกิจกรรม และห้องทดสอบกลิ่นมาตรฐาน • ถ่ายทอดเทคนิคและวิธีการให้กับพื้นที่นำร่อง เช่น สิ่งแวดล้อมภาคในพื้นที่นำร่อง การคัดเลือกอาสาสมัครและกำหนดค่าตอบแทน • ทดลองใช้เทคนิคการตรวจวัดและค่ามาตรฐานในพื้นที่นำร่องเช่น สามพราน • กำหนดประชุมรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับร่างมาตรฐาน

  18. คู่มือการตรวจวัดกลิ่นจากฟาร์มสุกรคู่มือการตรวจวัดกลิ่นจากฟาร์มสุกร

  19. การตรวจวัดกลิ่นจากฟาร์มสุกรการตรวจวัดกลิ่นจากฟาร์มสุกร

  20. การรับรู้กลิ่นของมนุษย์การรับรู้กลิ่นของมนุษย์ ส่งสัญญาณไปประมวลผลที่สมอง Receptor แต่ละตัว จะดักจับอนุภาคกลิ่นเพียงชนิดเดียว

  21. องค์ประกอบของกลิ่นจากฟาร์มสุกรองค์ประกอบของกลิ่นจากฟาร์มสุกร • แอมโมเนีย • ไฮโดรเจนซัลไฟด์ • กรดไขมันระเหย แหล่งกำเนิดกลิ่นที่สำคัญ • โรงเรือนและคอกเลี้ยงสุกร • ลานตากและโรงเก็บมูลสุกร • ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย • พื้นที่ที่นำมูลสุกรไปใช้ประโยชน์

  22. การคัดเลือกผู้ทดสอบกลิ่นการคัดเลือกผู้ทดสอบกลิ่น

  23. ห้องเตรียมตัวอย่าง ห้องทดสอบกลิ่น ห้องพักผ่อน ห้องทดสอบกลิ่น

  24. ขั้นตอนการเตรียมชุดทดสอบกลิ่นมาตรฐานขั้นตอนการเตรียมชุดทดสอบกลิ่นมาตรฐาน

  25. ขั้นตอนการคัดเลือกผู้ทดสอบกลิ่นขั้นตอนการคัดเลือกผู้ทดสอบกลิ่น

  26. ขั้นตอนการเก็บตัวอย่างกลิ่นจากฟาร์มสุกรขั้นตอนการเก็บตัวอย่างกลิ่นจากฟาร์มสุกร

  27. การเก็บตัวอย่างกลิ่นจากฟาร์มสุกรการเก็บตัวอย่างกลิ่นจากฟาร์มสุกร • เก็บตัวอย่างใต้ทิศทางลม ห่างจากรั้วฟาร์มออกไปเป็นระยะ 2 เท่า ของความสูงของรั้วฟาร์ม

  28. ขั้นตอนการเจือจางกลิ่นตัวอย่างขั้นตอนการเจือจางกลิ่นตัวอย่าง

  29. ขั้นตอนการตรวจวัดกลิ่นขั้นตอนการตรวจวัดกลิ่น

  30. ภาคผนวก ก วิธีการเตรียมสารละลายกลิ่นมาตรฐาน

  31. ภาคผนวก ขส่วนประกอบของอุปกรณ์ต่างๆ • หัวจุกพลาสติก • กระบอกเก็บตัวอย่าง • เครื่องตวงอากาศ

  32. หัวจุกพลาสติก

  33. กระบอกเก็บตัวอย่าง

  34. เครื่องตวงอากาศ

  35. THE END

More Related