1 / 9

ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย จำนวน 2 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ กิจกรรมหลักพัฒนาฝีมือเพื่อเพิ่มโอกาส ในการประกอบอาชีพ.

sissy
Télécharger la présentation

ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย จำนวน 2 ตัวชี้วัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวชี้วัดที่ 3.8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 แรงงานที่ถูกเลิกจ้าง/ว่างงาน แรงงานใหม่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการและแรงงานนอกระบบที่มีทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ กิจกรรมหลักพัฒนาฝีมือเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ

  2. ตัวชี้วัดที่ 3.8ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการในผลผลิตที่ 3 กิจกรรมหลักพัฒนาฝีมือเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย จำนวน 2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 3.8.1 ร้อยละของจำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในกิจกรรมพัฒนาฝีมือเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ ตัวชี้วัดที่ 3.8.2 ร้อยละของจำนวนแรงงานที่ผ่านการพัฒนาในกิจกรรมพัฒนาฝีมือเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ

  3. วิธีการประเมินผล หน่วยงานไม่ต้องจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง(Self Assessment Report : SAR) เนื่องจากใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ (http://datacenter.dsd.go.th)

  4. ตัวชี้วัดที่ 3.8.1ร้อยละของจำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในกิจกรรมพัฒนาฝีมือเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ น้ำหนัก สำหรับสถาบันฯ ร้อยละ 2 สำหรับศูนย์ฯ ร้อยละ 2.5

  5. สูตรการคำนวณ จำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในกิจกรรมพัฒนาฝีมือ เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ X 100 เป้าหมายการดำเนินงานที่ได้รับในกิจกรรมพัฒนาฝีมือ เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ เกณฑ์การให้คะแนน

  6. ตัวชี้วัดที่ 3.8.2ร้อยละของจำนวนแรงงานที่ผ่านการพัฒนาในกิจกรรมพัฒนาฝีมือเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ น้ำหนัก สำหรับสถาบันฯ ร้อยละ 2 สำหรับศูนย์ฯ ร้อยละ 2.5

  7. สูตรการคำนวณ จำนวนแรงงานที่ผ่านการพัฒนาในกิจกรรมพัฒนาฝีมือ เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ X 100จำนวนแรงงานที่เข้ารับการพัฒนาในกิจกรรมพัฒนาฝีมือ เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ เกณฑ์การให้คะแนน

  8. จบการนำเสนอกองแผนงานและสารสนเทศจบการนำเสนอกองแผนงานและสารสนเทศ

More Related