1 / 2

การกระทำของลูกจ้างอันมีผลจากแรงงาน “ ไม่ ” สัมพันธ์

3-แรงงานสัมพันธ์พัฒนาโดยทวิภาคี (พัฒนาการโดยการร่วมเจรจาต่อรอง). การกระทำของลูกจ้างอันมีผลจากแรงงาน “ ไม่ ” สัมพันธ์. การกระทำของนายจ้างอันมีผลกระทบต่อแรงงานสัมพันธ์. ประท้วง ( protest) ไม่มองหน้า ไม่ไหว้ แต่งชุดดำ เขียนข้อความเสียดสี ไม่ให้ความร่วมมือ ไม่ยอมทำงานล่วงเวลา

sona
Télécharger la présentation

การกระทำของลูกจ้างอันมีผลจากแรงงาน “ ไม่ ” สัมพันธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 3-แรงงานสัมพันธ์พัฒนาโดยทวิภาคี3-แรงงานสัมพันธ์พัฒนาโดยทวิภาคี (พัฒนาการโดยการร่วมเจรจาต่อรอง) การกระทำของลูกจ้างอันมีผลจากแรงงาน “ไม่” สัมพันธ์ การกระทำของนายจ้างอันมีผลกระทบต่อแรงงานสัมพันธ์ ประท้วง (protest) ไม่มองหน้า ไม่ไหว้ แต่งชุดดำ เขียนข้อความเสียดสี ไม่ให้ความร่วมมือ ไม่ยอมทำงานล่วงเวลา ไม่มาทำงานในวันหยุด ไม่ร่วมกิจกรรมทำประโยชน์สาธารณะ ไม่ทำงานเต็มเวลา (absenteeism)) มาสาย บ่ายเข้าช้า เลิกก่อนเวลา ใช้สิทธิเกินจำเป็น ลาป่วยครบสิทธิ ลากิจเต็มพิกัด ร้องเรียนเจ้าหน้าที่รัฐ ร้องทุกข์ต่อพนักงานตรวจแรงงาน ร้องกล่าวหาต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ แจ้งเจ้าพนักงานสรรพากรตรวจภาษี ร้องเรียนองค์การเอกชน ร้ององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ร้องสหพันธ์แรงงานเสรีระหว่างประเทศ (ICFTU) เปิดโปงความลับหรือความชั่ว แจกใบปลิวเรื่องคอรัปชั่นในหน่วยงาน บอกลูกค้าว่าโรงงานใช้วัตถุดิบไม่มีคุณภาพมาผลิต ให้สัมภาษณ์ว่าโรงงานแอบปล่อยน้ำเสีย สร้างและกระพือข่าวลือข่าวร้าย ปล่อยข่าวว่าบริษัทกำลังจะขาดทุนหรือล้มละลาย แกล้งปิดประกาศว่าบริษัทจะปลดคนงาน กระซิบลือว่าจะเกิดเหตุระเบิดร้ายแรงในโรงงาน โทรศัพท์แจ้งว่ามีการวางระเบิด ดำเนินคดีทางศาล ฟ้องคดีแรงงาน ฟ้องคดีแพ่ง ร้องทุกข์หรือฟ้องคดีอาญา ถ่วงงาน, อู้งาน (slowdown, go slow) ทำมากทำไม เงินได้เท่านั้น ดึงงานให้เป็น นายเห็นความสำคัญ ทำงานตามกฎ (work to rule) ทำตามหน้าที่ ไม่มีเอื้อเฟื้อ ลาออกพร้อมกัน (mass i, resignation) ยื่นใบลาออกเป็นหมู่ ประกาศลาออกต่อสาธารณะ ผละงาน (walkout) เก็บเครื่องมือกลับบ้าน ทิ้งงานไปรอฟังคำตอบ นัดหยุดงาน (strike) นัดหยุดงานผิดกฎหมาย นัดหยุดงานชอบด้วยกฎหมาย ทำให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการด้อยคุณภาพ (spoilage) ทำหนังเทียมขาดทุกหลา ทำกระดาษเป็นรูตลอดม้วน บี้แมลงสาบใส่หม้อซุป ทำให้หยุดการผลิตหรือลูกค้างดใช้บริการ ปลดสวิตช์ใหญ่ตัดกระแสไฟฟ้า แจ้งลูกค้าว่าจะนัดหยุดงาน ทำลายเครื่องจักร เครื่องมือ หรือสถานประกอบการ (sabotage) ทุบคอมพิวเตอร์ เผาโรงงาน กระทำผิดอาญาต่อนายจ้าง หรือบุคลากรฝ่ายนายจ้าง ดูหมิ่น หมิ่นประมาท ลักทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง ทำร้าย ฆ่า ทำความเดือดร้อนแก่ประชาชน ปิดถนน ปิดสถานที่ราชการ เลี่ยงการใช้แรงงานมนุษย์ ใช้เครื่องจักร ใช้หุ่นยนต์ ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้อุปกรณ์ไฮเทคโนโลยีอื่นๆ เปลี่ยนผู้รับผิด จ้างเหมาช่วง จ้างหัวหน้างานเป็นผู้รับเหมางาน จ้างบริษัทรับบริการเข้ามาทำงานแทนลูกจ้างบางประเภท เช่น รักษาความปลอดภัย ทำความสะอาด ฯลฯ จ้างเหมาแรงงานในสถานประกอบการ จ้างบริษัทรับจัดคนงานมาทำงาน จ้างเหมาให้รับงานไปทำที่บ้าน ให้บุคคลเข้ามาบริการแก่ลูกค้าเพื่อหาประโยชน์ แต่ต้องทำงานบางอย่างให้ หรือจ่ายค่าตอบแทน ทำสัญญาเอาเปรียบ กำหนดข้อความในสัญญาที่ผูกมัดลูกจ้างให้รับผิดเพียงฝ่ายเดียว ให้วางเงินประกันการทำงานโดยไม่จำเป็น และจำนวนเงินสูงเกินสมควร หรือเรียกเอกสารสำคัญมาเก็บไว้ ให้หาบุคคลมาค้ำประกันโดยไม่จำกัดความรับผิด ห้ามทำงานกับบริษัทอื่นโดยมิใช่บริษัทคู่แข่งขันขณะทำงานอยู่ ห้ามทำงานกับบริษัทประกอบกิจการอย่างเดียวกันเมื่อออกจากงานไปแล้ว จ้างทดลองงาน (และทดลองซ้ำอีก) จ้างระยะเวลาสั้นๆ (โดยไม่มีความจำเป็น) จ้างชั่วคราว (ทั้งที่ไม่ใช่งานชั่วคราว) จ้างมีกำหนดเวลา (และต่อสัญญาไป...) ให้เขียนใบลาออกล่วงหน้า สร้างความกดดันทางใจ เคร่งครัดทางวินัย คุมงานใกล้คล้ายแกล้ง แช่แข็งตำแหน่งเดิม ค่าจ้างเพิ่มไม่มี ย้ายไปที่ห่างไกล ไม่มอบงานให้ทำ ให้งึมงำโดดเดี่ยว ไม่แลเหลียวความถนัด จัดตำแหน่งต่ำลง จงใจแกล้งดุด่าว่าให้ จับไปดองอบรม ข่มขู่ให้ลาออก บอกว่าน่าจะหางานใหม่ เลิกจ้างโดยอุบาย ปล่อยให้เหลิงตัว ยั่วล่อให้ผิดวินัย แกล้งให้ต้องคดี เลิกจ้างอย่างเสี่ยง อ้างเหตุเศรษฐกิจ หาผิดวินัย เลิกจ้างเลี่ยงกฎหมาย เลิกแล้วตั้งใหม่ ทำเป็นขายเปลี่ยนเจ้าของ ร่วมกันต่อต้าน ขึ้นบัญชีสีดำ (black lists) ทำประวัติแจกตั้ง ประกาศหนังสือพิมพ์ ทำอันตรายร่างกายและชีวิต ให้อันธพาลทำร้าย ให้คนชั่วข่มขืน จ้างมือปืนตามฆ่า 2-แรงงานสัมพันธ์พัฒนาโดยเอกภาคี (พัฒนาการโดยดำริของนายจ้าง) 1-แรงงานสัมพันธ์พื้นฐาน (กฎหมายคุ้มครองแรงงาน) แรงงานสัมพันธ์เชิงลบ ทำสัญญาจ้างเอาเปรียบฯ กำหนดระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานไม่เหมาะสมฯ ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานฯ บริหารบุคคลโดยไม่มีระบบฯ ลงโทษทางวินัยแก่ลูกจ้างอย่างไม่มีหลักเกณฑ์ฯ เลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรมฯ มีอันตรายในการทำงานสูงฯ สิ่งแวดล้อมไม่ชวนให้ทำงานฯ บรรยากาศในการทำงานร่วมกันไม่ดีฯ ดำเนินธุรกิจเอาเปรียบสังคมฯ ฯลฯ แรงงานสัมพันธ์เชิงบวก มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อลูกจ้างฯ มีนโยบายการแรงงานสัมพันธ์ที่เหมาะสมฯ สร้างบรรยากาศในการทำงานร่วมกันดัง “บ้านที่สอง”...ฯ ปรับปรุงค่าจ้างเงินเดือนตามกาลเวลาฯ จัดสวัสดิการที่ผู้ปฏิบัติงานพอใจฯ สร้างแรงจูงใจให้มีการขยันขันแข็งในการทำงานฯ สร้างความพอใจในงานฯ มีโอกาสที่ลูกจ้างจะก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ฯ มีระบบการบริหารบุคคลที่ถูกต้องฯ กำหนดวินัยในการทำงานที่เหมาะสมฯ ลงโทษลูกจ้างอย่างเป็นธรรมฯ มีกลไกในการยุติข้อร้องทุกข์ในกิจการฯ มีวิธีการระงับข้อขัดแย้งที่มีประสิทธิภาพฯ มีการสื่อสารข้อความที่ดีฯ มีการอบรมและพัฒนาบุคลากรตามระยะเวลาฯ

  2. การปรึกษาหารือ (จะช่วยให้เกิดแรงงานสัมพันธ์ในทางบวก) ความปรารถนาของลูกจ้าง ค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ความมั่นคง ความก้าวหน้า ความปลอดภัย ความสมบูรณ์ของสถานที่ทำงาน ความทันสมัยของเครื่องมือและอุปกรณ์ การพัฒนาชีวิตการทำงาน การยอมรับนับถือ การเอาใจใส่ การยกย่องชมเชย การงานที่พอใจ การมีส่วนร่วม ความเป็นธรรม การปฏิบัติตามกฎหมาย การรักษาสัญญา บรรยากาศการทำงาน ความสงบสุขในองค์การ ความเป็นประชาธิปไตย การได้มีส่วนเป็นเจ้าของ Strategies to remain union-free กลยุทธ์ในการทำให้ลูกจ้างไม่ก่อตั้งสหภาพแรงงาน • ยื่นข้อเสนอค่าจ้างและผลประโยชน์ให้แก่ลูกจ้างในนวนที่สามารถแข่งขันได้ ทั้งนี้บริษัทควรมีการสำรวจและเปรียบเทียบอัตราค่าจ้างและสวัสดิการในตลาดแรงงานอย่างสม่ำเสมอ • ให้การฝึกอบรมแก่พนักงานระดับหัวหน้าในด้านทักษะของแรงงานสัมพันธ์ จิตวิทยาการเป็นผู้นำที่ดี เช่น การโน้มน้าวจูงใจ การออกแบบงาน และความรู้เกี่ยวกับกฏหมายการจ้างงาน • มีกระบวนการที่ชัดเจนในการรับเรื่องราวข้อร้องเรียนของลูกจ้างและมีความจริงใจในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นอย่างรวดเร็ว เช่น อาจจะใช้นโยบาย Open DoorPolicy หรือกิจกรรมข้อเสนอแนะ • เปิดโอกาสให้พนักงานเข้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจหรือรับฟังความคิดเห็นจากพนักงานในบางเรื่อง เช่น เรื่องการปรับปรุงคุณภาพของงาน การปรับปรุงสวัสดิการหรือสภาพแวดล้อมภายในบริษัท เป็นต้น • คำนึงถึงความปลอดภัยและสภาพความเป็นอยู่ของพนักงาน มีกิจกรรมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับพนักงานเป็นระยะๆ โดยนายจ้างหรือตัวแทนฝ่ายนายจ้างต้องเข้าร่วมกิจกรรมด้วยอย่างใกล้ชิด • มีการฝึกอบรมเสริมความรู้ให้กับพนักงานอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาศักยภาพของพนักงานและส่งผลในการเพิ่มผลผลิตให้กับบริษัท • สร้างสรรค์กิจกรรมใดๆที่ขจัดไม่ให้เกิดปัจจัยที่ทำให้มีการก่อตั้งสหภาพแรงงาน ปัจจัยที่ทำให้มีการก่อตั้งสหภาพแรงงาน • การฝ่าฝืนกฎหมายคุ้มครองแรงงาน • การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม • ค่าตอบแทนที่ต่ำเกินสถานะของนายจ้าง • สวัสดิการไม่มีหรือไม่เพียงพอ • การลงโทษทางวินัยที่ไม่มีหลักเกณฑ์ • การบริหารงานบุคคลที่ไม่มีหลักการอันถูกต้อง • ระบบการยุติข้อร้องทุกข์ที่ไม่มีหรือไม่ได้ผล • การสื่อสารข้อความที่ขาดตอน • กิจกรรมที่ลูกจ้างมีโอกาสกระทำร่วมกันไม่มี • ความต้องการมีตำแหน่งทางสังคม • ลัทธิเอาอย่าง • การสนับสนุนของนายจ้าง นายจ้าง สหภาพแรงงาน 1 OPEN-DOOR POLICY นโยบาย “เปิดประตู” ลูกจ้าง นายจ้าง ยอมรับว่าสหภาพแรงงานเป็นองค์การโดยชอบด้วยกฎหมาย ยอมรับว่านายจ้างมีสิทธิในการจัดการ (Management right) 2 COUNSELLING การให้คำปรึกษา ลูกจ้าง หัวหน้างาน สหภาพแรงงานเป็นตัวแทนของลูกจ้าง นายจ้างเป็นแหล่งงานที่ต้องพึ่งพาและรักษาให้คงอยู่ 3 LOINT CONSULTATION COMMITTEE คณะกรรมการร่วมหารือ ผู้แทนลูกจ้าง ผู้แทนนายจ้าง สหภาพแรงงานเป็นองค์การที่มีความรับผิดชอบ นายจ้างจำเป็นต้องแสวงและรักษาผลประโยชน์ 4 EMPLOYEE COMMITTEE คณะกรรมการลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง นายจ้าง การสื่อสารข้อความที่ดีจะเป็นวิถีทาง ให้เกิดความเข้าใจอันดี การเจรจาต่อรองด้วยความจริงใจ ทำให้เกิดข้อตกลงที่พอใจ 5 WELFARE COMMITTEE คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ผู้แทนลูกจ้าง นายจ้าง การแบ่งปันผลประโยชน์ที่เหมาะสม จะทำให้องค์การทั้งสองฝ่ายพัฒนา ข้อขัดแย้งทุกเรื่อง สามารถแก้ไขได้ ด้วยการปรึกษาหารือร่วมกัน ประโยชน์ • ได้ทราบและแก้ไขปัญหาในการผลิตหรือบริการ การบริหารงานบุคคล และการบริหารแรงงานสัมพันธ์ • ได้ทราบและแก้ไขปัญหา ข้อขัดแย้ง ข้อร้องทุกข์ของลูกจ้าง • ดำรงและพัฒนาการผลิตหรือบริการ และความสงบในอุตสาหกรรม คัมภีร์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. นายจ้างและผู้บริหารทุกคนต้องศึกษาและ พยายามปฏิบัติตามกฎหมายให้ถูกต้องและ ครบถ้วน การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามจะเป็น เหตุให้ถูกดำเนินคดีทางอาญาและทางแพ่ง อาจได้รับโทษถึงจำคุกหรือต้องชดใช้เงินและ ค่าเสียหายจำนวนมาก 2. นายจ้างไม่อาจตกลงหรือทำสัญญากับลูกจ้าง กำหนดเงื่อนไขใดๆ ให้ลูกจ้างได้รับสิทธิประโยชน์ หรือได้รับการคุ้มครองน้อยลงกว่าที่กฎหมาย กำหนดได้ การฝ่าฝืนจะมีผลทำให้ข้อตกลงหรือ สัญญานั้นเป็นนิติกรรมที่ขัดต่อกฎหมายเกี่ยวกับ ความสงบเรียบร้อย ตกเป็นโมฆะ นายจ้างไม่อาจ อ้างข้อตกลง หรือสัญญานั้นต่อลูกจ้าง หรือต่อเจ้า พนักงานเพื่อให้พ้นความรับผิดได้ 3. นายจ้างไม่อาจกำหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการ ทำงานหรือระเบียบหรือออกคำสั่งใด ๆ ในทางลิด รอนสิทธิประโยชน์ของลูกจ้าง หรือทำให้ ลูกจ้างต้องรับภาระหรือต้องดำเนินการอย่างใดยิ่ง กว่าที่กฎหมายกำหนด การฝ่าฝืนจะมีผลทำให้ข้อ บังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบ หรือคำสั่งนั้น ใช้บังคับไม่ได้ แต่การกำหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการ ทำงานหรือระเบียบ หรือออกคำสั่งที่เป็นผลดีแก่ ลูกจ้างยิ่งกว่าที่กฎหมายกำหนด ย่อมบังคับได้และ ผูกพันให้นายจ้างต้องปฏิบัติเช่นนั้นตลอดไป 4. เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการตีความบทบัญญัติ ของกฎหมายซึ่งไม่ชัดแจ้งไปในทางใด ให้ตีความ ไปในทางหรือนัยที่จะให้การคุ้มครองแก่ลูกจ้าง หรือสร้างความสงบสุขแก่สังคมแรงงานโดยรวมยิ่ง กว่าจะเป็นประโยชน์แก่ปัจเจกบุคคล • การกระทำอันไม่เป็นธรรม (UNFAIR LABOUR PRACTICES) • ห้ามมิให้นายจ้างกระทำการดังต่อไปนี้ • เลิกจ้างหรือกระทำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างฯ ไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เพราะเหตุที่ลูกจ้างฯได้นัดชุมนุม ทำคำร้อง ยื่นข้อเรียกร้อง เจรจา ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ เพราะเหตุที่ลูกจ้างฯ กำลังจะกระทำการดังกล่าว • เลิกจ้างหรือกระทำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เพราะเหตุที่ลูกจ้างนั้นเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน • ขัดขวางในการที่ลูกจ้างเป็นสมาชิก หรือให้ลูกจ้างออกจากการเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน... • ขัดขวางการดำเนินของสหภาพแรงงาน... • เข้าแทรกแซงในการดำเนินการของสหภาพแรงงาน... - ลูกจ้างผู้บังคับบัญชา และลูกจ้างธรรมดาจะเป็นสมาชิกในสหภาพแรงงานเดียวกันไม่ได้... มาตรา 95 ลูกจ้างผู้บังคับบัญชา ที่มีอำนาจในการจ้าง ลดค่าจ้าง เลิกจ้าง ให้บำเหน็จ หรือลงโทษ ลูกจ้างซึ่งไม่มีอำนาจดังเช่นลูกจ้างผู้บังคับบัญชา - การลาเพื่อไปดำเนินกิจการสหภาพแรงงานในฐานะผู้แทนลูกจ้างในการเจรจา การไกล่เกลี่ยและการชี้ ขาดข้อพิพาทแรงงานและลาเพื่อไปร่วมประชุมตามที่ทางราชการกำหนด โดยแจ้งให้นายจ้างทราบล่วง หน้าถึงเหตุที่ลาพร้อมแสดงหลักฐานที่เกี่ยวข้องถือว่าวันลาดังกล่าวเป็นวันทำงานได้รับค่าจ้างทุกวันที่ลา

More Related