1 / 44

ความฉลาดทางอารมณ์

Emotion Quotient. ความฉลาดทางอารมณ์. โดย มยุรี ยกตรี พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่. ความฉลาดทางอารมณ์ ( Emotion Quotient ). ความฉลาดทางอารมณ์ คือ ความสามารถทางอารมณ์ ในการดำเนินชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และมีความสุข.

sook
Télécharger la présentation

ความฉลาดทางอารมณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Emotion Quotient ความฉลาดทางอารมณ์ โดย มยุรี ยกตรี พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่

  2. ความฉลาดทางอารมณ์(Emotion Quotient) ความฉลาดทางอารมณ์ คือ ความสามารถทางอารมณ์ ในการดำเนินชีวิตอย่างสร้างสรรค์ และมีความสุข การรู้จักความฉลาดทางอารมณ์ของตนเอง เพื่อการพัฒนา และการใช้ศักยภาพตนเองในการดำเนินชีวิตครอบครัว การทำงานและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จ

  3. อีคิว(E.Q.)กับ ไอคิว (I.Q.) ต่างกันอย่างไร • ไอคิว(IntelligenceQuotient) หมายถึงความฉลาดทางเชาว์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง • อีคิว (Emotional Quotient) หมายถึงความฉลาดทางอารมณ์ เป็นความสามารถในการรับรู้และเข้าใจอารมณ์ทั้งของตัวเอง และของผู้อื่น ตลอดจนสามารถปรับ หรือควบคุมได้อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์

  4. ความแตกต่างระหว่าง (IQ) และ (EQ)

  5. คนที่มีอีคิวสูงแตกต่างจากคนที่มีไอคิวสูงอย่างไรคนที่มีอีคิวสูงแตกต่างจากคนที่มีไอคิวสูงอย่างไร

  6. ความสัมพันธ์ระหว่าง (IQ) และ (EQ) 1. IQ สูงอย่างเดียว อาจไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร 2. IQ ธรรมดา + EQ สูง ทำให้ประสบความสำเร็จ 3. IQ สูง + EQ สูง ยิ่งประสบความสำเร็จมาก 4. EQ สูง ทำให้การเรียนรู้ดีขึ้น

  7. การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์

  8. ประโยชน์ของ EQ • พัฒนาการด้านอารมณ์ และบุคลิกภาพเด็ก - กำหนดบุคลิกภาพที่พึงปรารถนา - สร้างวุฒิภาวะสมวัย การปรับตัว การแก้ปัญหาความเครียดและความกดดันในชีวิต - ควบคุมอารมณ์ในภาวะของการแข่งขันได้ดี - อยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี

  9. พัฒนาการสื่อสาร และการแสดงความรู้สึกในอารมณ์ของตน - กำหนดแสดงอารมณ์ได้ถูกกาละเทศะ - เข้าอกเข้าใจความรู้สึกของคนอื่น - สามารถจะยิ้มได้ แม้ในใจจะรู้สึกเศร้า ทรมาณ - รับฟังปัญหาของผู้อื่นได้ อย่างตั้งใจ - ไม่รู้สึกแปลกแยกจากเพือนมนุษย์ สังคม ธรรมชาติ และชีวิตของคน

  10. การปฏิบัติงาน EQ ช่วยให้ - ยอมรับความคิดริเริ่ม ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ - ยอมรับการเปลี่ยนแปลง - ลดการลา ขาดงาน ย้ายงาน - มีปฏิสัมพันธ์ รู้จักการประสานงาน สานสัมพันธ์ มนุษย์สัมพันธ์ดี - เคารพความคิดเห็นของคนอื่น - ปรับตัวในสถานการณ์ต่าง ๆ ในที่ทำงานได้ดี

  11. การบริหาร EQ ช่วยให้ - รู้จักผู้ที่มีคุณประโยชน์ต่อตน ลูกค้า ผู้มารับบริการ - รับฟังความต้องการ และตอบสนองได้ดี - สามารถที่จะชักจูงผู้อื่นให้เป็นประโยชน์ที่จะได้รับจากตนได้ดี - สามารถทำให้คนอื่นมีความอยากที่จะมาใช้บริการต่อไป หรือมาทำความรู้จัก ลึกซึ้งต่อไป

  12. - รู้จักใช้คนและครองใจคนได้ - เรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ - โน้มน้าวผู้อื่นให้ทำตามที่ตนต้องการได้สำเร็จ - สามารถทำให้คนเกิดความสุขในการทำงาน - สามารถทำให้คนรักงาน องค์กร - พูดและดำเนินการตามที่พูด - กล้าแสดงออก และถูกต้องตามกาละเทศะ

  13. การเข้าใจชีวิตตนและคนอื่นการเข้าใจชีวิตตนและคนอื่น - รู้จักมองเข้าไปในจิตใจของตน เข้าใจตนอย่างถ่องแท้ - เข้าใจคนอื่น เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กัน - มุ่งใช้ศักยภาพของตนเต็มที่ต่อกิจกรรมต่างๆ ใน การดำรงชีวิตประจำวัน - มีความสุขกับชีวิตและครอบครัว

  14. ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ จะทำให้ ตัวเรา 1 อยู่กับ คนอื่น ได้ดี มีความสุข และประสบความสำเร็จในชีวิต

  15. ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ เป็นคนดี 2 รู้จักอารมณ์ มีน้ำใจ รู้ว่าอะไรผิดถูก

  16. ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ เป็นคนเก่ง 3 กระตือรือร้น สนใจใฝ่รู้ ปรับตัวได้ดี กล้าพูด กล้าบอก

  17. ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความฉลาดทางอารมณ์ มีความสุข 4 มีความพอใจ อบอุ่นใจ สนุกสนานร่าเริง

  18. กรมสุขภาพจิตได้พัฒนาแนวคิดเรื่องความฉลาดทางอารมณ์ ประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ 3 ประการ คือ 1. ดี 2. เก่ง 3. สุข ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง ดี หมายถึง รู้จักเห็นใจอื่น มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม

  19. ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเองความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง • รู้จักอารมณ์และความต้องการของ ตนเอง • ควบคุมอารมณ์และความต้องการได้ • แสดงออกอย่างเหมาะสม

  20. ความสามารถในการเห็นใจผู้อื่นความสามารถในการเห็นใจผู้อื่น • ใส่ใจผู้อื่น • เข้าใจและยอมรับผู้อื่น • แสดงความเห็นใจอย่างเหมาะสม

  21. ความสามารถในการรับผิดชอบความสามารถในการรับผิดชอบ • รู้จักการให้ รู้จักการรับ • รู้จักรับผิด รู้จักให้อภัย • เห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วม ความสามารถในการรู้จักและสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง เก่ง หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น

  22. ความสามารถในการรู้จักและสร้างแรงจูงใจให้ตนเองความสามารถในการรู้จักและสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง • รู้ศักยภาพของตนเอง • สร้างขวัญและกำลังใจให้ตนเองได้ • มีความมุ่งมั่นที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย

  23. ความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหาความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา • รับรู้และเข้าใจปัญหา • มีขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม • มีความยืดหยุ่น

  24. ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น • รู้จักการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น • กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม • แสดงความเห็นที่ขัดแย้งได้อย่างสร้างสรรค์ ความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ภูมิใจในตนเอง สุข หมายถึง พึงพอใจในชีวิต มีความสงบทางใจ

  25. ภูมิใจในตนเอง • เห็นคุณค่าในตนเอง • เชื่อมั่นในตนเอง พึงพอใจในชีวิต • รู้จักมองโลกในแง่ดี • มีอารมณ์ขัน • พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่

  26. มีความสงบทางใจ • มีกิจกรรมที่เสริมสร้างความสุข • รู้จักผ่อนคลาย • มีความสงบทางจิตใจ

  27. การพัฒนาอารมณ์ความฉลาดทางอารมณ์(Emotion Quotient) มนุษย์ ใช้อารมณ์ แต่ ไม่ค่อยพัฒนาอารมณ์

  28. การเสริมสร้าง EQ การเสริมสร้าง EQ ด้วยการเรียนรู้ 3 ประการ • ละทิ้งพฤติกรรมเดิม (Unleaming) ทิ้งความคิดเดิม ความเชื่อเดิม พฤติกรรมที่สังคมไม่ยอมรับหาทางปรับพฤติกรรมของตน • การเรียนรู้ใหม่ (Releaming) ฝึกควบคุมตนเอง ฝึกเอาใจเขามาใส่ใจเรา ฝึกฟัง ฝึกแสดงออกที่ดี

  29. 3.การเรียนรู้เพิ่ม (Leaming) ฝึกการทำความเข้าใจภาวะอารมณ์ของคนอื่น ฝึกทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ฝึกการพิจารณาเชื่อมโยงผลอันเนื่องมาจากการกระทำของตนเอง การวัด EQ มีการวัดหลากหลายรูปแบบ เช่น แบบวัดที่เป็นคำถาม อ่านความรู้สึกจากสีหน้า รายงานภาวะอารมณ์จากคำคุรศัพท์ต่างๆ เช่น ดีใจ เสียใจ ห่อเหี่ยว วิตก ฯลฯ รายงานอารมณ์จากภาพ

  30. การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ • 1. รู้จักอารมณ์ตนเอง • 2. การจัดการ (บริหาร) อารมณ์ตนเอง • 3. การสร้างการจูงใจให้ตนเอง • 4. การหยั่งรู้อารมณ์ของผู้อื่น • 5. การรักษาความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

  31. การรู้จักอารมณ์ตนเอง 1. การให้เวลา ทบทวน พิจารณา คล้อยตาม สิ่งใด 2. ฝึกการรู้ตัวบ่อย ๆ มีสติ มีผลอย่างไรต่อ การแสดงออก

  32. การจัดการ(บริหาร)อารมณ์ตนเองการจัดการ(บริหาร)อารมณ์ตนเอง • ลักษณะใดที่ควรกระทำ-ผลตามมา 1. แสดงออกทันที 2. เก็บกดไว้ 3. โทษผู้อื่น 4. ระบายออกอย่างเหมาะสม

  33. การฝึกจัดการอารมณ์ 1. ทบทวน ทำอะไรได้บ้าง 2. เตรียม ทำ - ไม่ทำ 3. รับรู้ ในด้านดี 4. สร้างความรู้สึกที่ดี ตนเอง รอบข้าง 5. หาโอกาส จาก อุปสรรค

  34. วิธีระงับและควบคุมอารมณ์วิธีระงับและควบคุมอารมณ์ 1. สำรวจอารมณ์ที่เกิดขึ้น - ใช้วิธีการฝึกสติ 2. คาดการณ์ถึงผลดี-ผลเสียของการแสดงอารมณ์นั้นๆ 3. พยายามควบคุมอารมณ์ด้วยวิธีต่าง ๆ 3.1 หายใจเข้า-ออก ยาว ๆ 3.2 นับ 1-10 หรือนับต่อจนสงบ 3.3 ปลีกตัวหลีกห่างจากสถานการณ์นั้น ๆ ชั่วคราว 3.4 กำหนดลมหายใจ ให้สติอยู่ มีการหายใจเข้า-ออก

  35. วิธีระงับและควบคุมอารมณ์วิธีระงับและควบคุมอารมณ์ 4. สำรวจความรู้สึกของตัวเองอีกครั้ง และชื่นชมกับการที่ตนเองสามารถผ่อนคลายอารมณ์ได้ 5. คิดถึงเรื่องอื่นที่ไม่ใช่เรื่องที่ทำให้อารมณ์ขุ่นมัว เศร้าหมอง

  36. อริยสัจ 4 1. ทุกข์ คิดรู้และเข้าใจปัญหา 2. สมุทัย คิดพิจารณาถึงสาเหตุของปัญหา 3. นิโรธ คิดตริตรอง พิจารณาวิธีแก้ปัญหา 4. มรรค นำความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ที่ถูกต้องไปใช้แก้ปัญหา

  37. อิทธิบาท 4ทางแห่งความสำเร็จ 1. ฉันทะ คือ ความมีรัก 2. วิริยะ คือ ความเพียรพยายาม 3. จิตตะ คือ จิตใจฝักใฝ่ 4. วิมังสา คือ การใช้สติปัญญาหาเหตุผล

  38. 5 ย. • ยิ้ม = ยิ้มแย้มแจ่มใส เบิกบาน • เย็น = ใจเย็น ไม่วู่วาม อดทน • ยอ = คนมักชอบการเยินยอ • ยอม = ไม่ดื้อดึงโอนอ่อนผ่อนตามคนอื่นบ้าง เสียสละ • ยึด = ยึดมั่นในหลักการ

  39. การพัฒนาวาจา(Verbal Development) พูดแต่ดี อย่าดีแต่พูด

  40. การบริหารอารมณ์ของตนเอง(Managing emotion) การฝึกจัดการอารมณ์ของตนเอง 1. ทบทวนว่ามีอะไรบ้างที่เราทำลงไปด้วยอารมณ์ 2. ฝึกการสั่งตนเองว่าจะทำ/จะไม่ทำอะไร 3. ฝึกการรับรู้ หรือมองสิ่งต่างๆ ในดี สร้างอารมณ์แจ่มใสเบิกบาน 4. ฝึกการสร้างความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งต่างๆรอบตัว 5. มองหาประโยชน์ โอกาสจากอุปสรรค หรือปัญหา 6. ฝึกการผ่อนคลายความเครียดที่เกิดจากอารมณ์ไม่ดี

  41. การสร้างแรงจูงใจให้ตนเองการสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง 1. ทบทวน สิ่งที่สำคัญต่อชีวิต 2. ตั้งเป้าหมาย 3. ระวัง มุ่งมั่น 4. ยืดหยุ่น ลดความสมบูรณ์แบบ 5. หาประโยชน์จากอุปสรรค 6. มองโลกในแง่ดี เชิงบวก 7. สร้างความหมายในชีวิต ภูมิใจ 8. ให้กำลังใจตัวเอง เราทำได้

  42. การหยั่งรู้อารมณ์ผู้อื่นการหยั่งรู้อารมณ์ผู้อื่น 1. สนใจการแสดงออก 2. อ่านอารมณ์ 3. ทำความเข้าใจอารมณ์ 4. ตอบสนอง ให้รู้ว่า เข้าใจ เห็นใจ

  43. การคัดกรองความฉลาดทางอารมณ์

  44. สุขกันเถอะเรา ถ้า EQ ดี...ก็มีสุข

More Related