1 / 158

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี. วิษณุ วิทยวราวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มมาตรฐานการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่. วัตถุประสงค์ในการบริหารงานบุคคล. สรรหาคนดีมาทำงาน ใช้ประโยชน์สูงสุด รักษาคนดีให้อยู่ในองค์กร

Télécharger la présentation

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี วิษณุ วิทยวราวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มมาตรฐานการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่

  2. วัตถุประสงค์ในการบริหารงานบุคคลวัตถุประสงค์ในการบริหารงานบุคคล • สรรหาคนดีมาทำงาน • ใช้ประโยชน์สูงสุด • รักษาคนดีให้อยู่ในองค์กร • พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพ

  3. หลักการและเหตุผลของการจัดทำแผนหลักการและเหตุผลของการจัดทำแผน • ก.กลาง (ก.จ. ก.ท. และก.อบต.) ประกาศมาตรฐานทั่วไป เกี่ยวกับอัตราตำแหน่งและมาตรฐานของตำแหน่ง เพื่อให้ ก.จังหวัด (ก.จ.จ. ก.ท.จ.และ ก.อบต.จังหวัด) กำหนดตำแหน่งข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่นว่าจะมีตำแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด ให้คำนึงถึงภารกิจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฎิบัติ ความยากและคุณภาพงาน ตลอดจนภารค่าใช้จ่าย ที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคล ทั้งนี้ ตามที่ ก.กลาง กำหนด • ก.กลาง กำหนดให้ อปท. จัดทำแผนอัตรากำลัง ของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นกรอบในการกำหนดตำแหน่ง และการใช้ตำแหน่ง และเสนอ ให้ ก.จังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบ

  4. ขั้นตอนการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี อปท. • เมื่อครบรอบระยะเวลาการใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี แล้วให้ อปท.ดำเนินการจัดทำแผนอัตรากำลังของ อปท.เป็น ระยะเวลา 3 ปี ในรอบถัดไป แต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วย นายก เป็นประธาน ปลัด และหน.ส่วนราชการ เป็นกรรมการและมีเลขานุการ 1 คน จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ก.กลาง ยืนยัน ไม่เห็นชอบ ก.จังหวัด ปรับปรุงแผน ก.จังหวัด เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ประกาศใช้

  5. ขั้นตอนการทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี • คะแนนในมติที่ 4 ข้อ 4.1 (3) ได้คะแนน 2 คะแนน • คะแนนด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา ข้อ 1.1 การประกาศใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี ประกาศภานในวันที่ 1 ตุลาคมและในปีงบประมาณที่ผ่านมา ไม่มีการขอปรับปรุงแผนอัตรากำลัง ได้ 5 คะแนน

  6. การจัดทำแผนอัตรากำลังการจัดทำแผนอัตรากำลัง • 1. วิเคราะห์ภารกิจ ในช่วง 3 ปี • 2. วิเคราะห์ความต้องการกำลังคน • 3. ประเมินกำลังคนที่มีอยู่ • 4. วิเคราะห์แผนพัฒนากำลังคน • 5. จัดโครงสร้างส่วนราชการ 5.1 แบ่งส่วนราชการตามประกาศกำหนดส่วนราชการ 5.2 กำหนดตำแหน่ง สายงานประจำส่วนราชการ /จำนวนต้องให้ ก.จังหวัดเห็นชอบ 5.3 เป็นสายงาน ที่มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 5.4 กำหนดแผนในระยะ 3 ปี โดยแสดงกรอบทั้งหมด และกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่ เป็นรอบปีที่ 1 ปี 2 ปี 3

  7. เหตุที่ต้องจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี • เพื่อวางแผนด้านกำลังคนขององค์กร • เพื่อสรรหาคนและใช้คนให้เกิดประโยชน์สูงสุด • เพื่อกำหนดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรที่เหมาะสม • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร

  8. วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ให้มีโครงสร้างการบริหารและระบบงานที่เหมาะสมไม่ซ้ำซ้อน ให้มีการกำหนดตำแหน่ง และจัดอัตรากำลังให้ เหมาะสมกับอำนาจหน้าที่ของ อปท. และกฎหมาย ให้สามารถตรวจสอบการกำหนดตำแหน่งและการใช้ ตำแหน่งว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมหรือไม่ เป็นแนวทางในการวางแผนการใช้อัตรากำลัง การพัฒนาบุคลากรของ อปท. ให้เหมาะสม

  9. ขอบเขตและแนวทางในการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี โดยมีขอบเขตเนื้อหา ครอบคลุมในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ • บทวิเคราะห์ภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อปท. • การกำหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ • ตามภารกิจ หน้าที่ ในด้านต่างๆ คกก./คณะทำงาน • บทวิเคราะห์ เพื่อกำหนดตำแหน่งที่ต้องการในสายงาน • ต่าง ๆ จำนวนตำแหน่งและระดับตำแหน่ง ให้ตรงตามภารกิจ • บทวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ • ตอบแทนอื่น เพื่อไม่ให้เกินร้อยละ 40 ตามมาตรา ๓๕ • การจัดคนลงกรอบโครงสร้างอัตรากำลังให้เหมาะสม • การพัฒนาบุคลากร

  10. ต้องวิเคราะห์สภาพปัญหาใน อปท. และความต้องการของประชาชนใน อปท. โดยอาจพิจารณาเป็นด้าน ๆ ไป เพื่ออะไร? • เพื่อสามารถกำหนดภารกิจในการแก้ไขปัญหา • และความต้องการของประชาชนใน อปท.ได้ตรง • กับความต้องการ คกก./คณะทำงาน • เพื่อให้ทราบว่าภารกิจในแต่ละด้านต้องการ จำนวนบุคลากรประเภทใด จำนวนเท่าใด ระดับใด ในการดำเนินงานตามภารกิจ นั้น

  11. ภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อปท. เช่น พ.ร.บ. อบจ. พ.ศ.2540 พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 พ.ร.บ.สภาตำบลฯ พ.ศ.2537 วิเคราะห์ภารกิจ ตามที่กฎหมายกำหนด โดยคำนึงถึงความต้องการของประชาชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาอำเภอและจังหวัดนโยบาย ของรัฐบาลและผู้บริหารท้องถิ่น คกก./คณะทำงาน พิจารณาเป็นรายด้าน วิเคราะห์ภารกิจ ตามสภาพแวดล้อมองค์กร

  12. สภาพแวดล้อมภายในองค์กรสภาพแวดล้อมภายในองค์กร • ศักยภาพในการแก้ปัญหาของ อปท. • ฐานะการคลัง - รายได้ • ด้านบุคลากร • ด้านการบริหารงานทั่วไป

  13. สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร • ด้านเศรษฐกิจ - ความยากจน • อาชีพ • ด้านการเมือง - นโยบายรัฐบาล • ด้านสังคม - ปัญหาสังคม ชุมชน

  14. ภารกิจหลักและภารกิจรองที่ อปท.จะต้องดำเนินการ ภารกิจหลัก คกก./คณะทำงาน นำภารกิจที่วิเคราะห์ กำหนดเป็น ภารกิจรอง

  15. สรุปปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลังสรุปปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลัง คกก./คณะทำงาน สรุปปัญหา สรุปแนวทางแก้ไขปัญหา

  16. โครงสร้างการกำหนดส่วนราชการโครงสร้างการกำหนดส่วนราชการ คกก./คณะทำงาน นำภารกิจที่ได้จากการวิเคราะห์ มากำหนดส่วนราชการ มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดตำแหน่ง ในส่วนราชการต่างๆ • ตามที่ ก.กลางกำหนด • ตำแหน่งใด ระดับใด จำนวน เท่าใด จัดทำเป็นกรอบอัตรากำลัง 3ปี

  17. เค้าโครงแผนอัตรากำลัง 3 ปี ประกอบด้วย • หลักการและเหตุผล • วัตถุประสงค์ • ขอบเขตและแนวทางในการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี • สภาพปัญหา ความต้องการของประชาชนในเขต อปท. • ภารกิจหลัก และภารกิจรอง • สรุปปัญหาและแนวทางในการบริหารงานบุคคล • โครงสร้างการกำหนดตำแหน่ง

  18. ภารค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน และประโยชน์ตอบแทนอื่น • แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตรากำลัง 3 ปี • แนวทางการพัฒนาข้าราชการ /พนักงาน และลูกจ้าง • ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการ/พนักงานและลูกจ้าง

  19. การกำหนดตำแหน่ง • ตำแหน่งที่ ก.กลางยังไม่ได้กำหนด (ก.กลาง) • ตำแหน่งที่ ก.กลางกำหนดแล้ว (ก.จังหวัด) • ตำแหน่งที่ขอกำหนดใหม่เทื่อจัดตั้งส่วนราชการใหม่(ก.กลาง)

  20. ก.กลาง กำหนดตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป 2. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ (ระดับ 7 ขึ้นไป) 3. ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงและระดับกลาง (ระดับ 6 ขึ้นไป) กำหนดสายงานข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ดังนี้ 1. อบจ. กำหนดสายงานข้าราชการ อบจ. 100 สายงาน 2. เทศบาล กำหนดสายงานพนักงานเทศบาล 123 สายงาน 3. อบต. กำหนดสายงานพนักงานส่วนตำบล 81 สายงาน

  21. 1. โครงสร้างส่วนราชการ (กำหนดให้สอดคล้องกับภารกิจ)

  22. 2. การวิเคราะห์เพื่อกำหนดตำแหน่งให้สอดคล้องกับภารกิจ

  23. กรอบอัตรากำลัง 3 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2555 – 2557

  24. ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ ปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล 8) เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน รองปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล 7) ผู้อำนวยการกองช่าง (นักบริหารงานช่าง 7) หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาล (นักบริหารงานทั่วไป 7) ผู้อำนวยการกองคลัง (นักบริหารงานคลัง 7)

  25. 3.การวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น3.การวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น

  26. หมายเหตุ (1) รายจ่ายจริง (2) คิดจาก (เงินเดือนขั้นต่ำ+ขั้นสูงของระดับตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นหารด้วย 2 คูณด้วย 12+ ขั้นเงินเดือนคนเดิมที่เพิ่มขึ้น (3) คือภาระค่าใช้จ่ายปีที่ผ่านมา + (2) (4) คือค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด (5) คิดจากค่าจ้างพนักงานจ้างตามแผนอัตรากำลัง 4 ปี (6) คิดจาก (4) คูณด้วย 20 % (7) คิดจาก (4)+(5)+(6) หารด้วยจำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีนั้นคูณด้วย 100

  27. 1 - 1 1 - 1 1 1 - - - - 1 2 3,840 - 93,600 - เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ - - 5 180,000 1 1 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน -1 - 1 4 134,400 - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน - - 2-4/5 - 174,900 - 1 - - เจ้าหน้าพนักงานการเงิน (ว่างใหม่) 105,720 - - 143,820 148,920 174,900 181,320 101,400 97,440 - 93,600 143,820 154,020 - 143,820 148,920 194,880 202,560 - 140,400 97,440 146,640 166,920 175,920 185,160 157,920 - - 6,420 4,320 3,960 1 5,100 2 1-3/4 1 3,840 1-3/4 - 6 1 - 9,000 7,680 -1 5,100 5,100 9,240 9,000 นักบริหารงานการคลัง เจ้าหน้าที่พัสดุ (ว่างเดิม) เจ้าหน้าที่การเงินการบัญชี - 143,820 เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี (ว่างใหม่) 7,320 7,560 187,320 - 6,000 6,240 ซี 1-3/4 4,870+19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) ซี 2-4/5 5,810+23,340 x 12 / 2 ( 174,900 ) ซี 3-5/6ว. 7,140+28,880 x 12 / 2 ( 216,120 ) ซี 7 35,220 + 16,190 x 12 / 2 ( 308,460 ) ซี 8 49,830 + 19,860 x 12 / 2 ( 418,140)

  28. นักบริหารงานคลัง 6 ขั้น 13,160 บาท x 12 = 157,920 บาท ขั้นวิ่ง คิดทั้งปี 1 ขั้น = 13,910 – 13,160 = 750 x 12 = 9,000 บาท นำเงิน 9,000 + 157,920 = 166,920 บาท ปีต่อไปนำ (14,660 - 13910 = 750 x 12 =9,000 )+166,920 = 175,920 บาท ปีต่อไปนำ (15,430 – 14,660 =770 x 12 = 9,240) นำขั้น 9,240 + 175,920 = 185,160 บาท

  29. เจ้าหน้าที่พัสดุ 1-3/4 (ว่างเดิม) ซี 1-3/4 4,870 + 19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) (ขั้นต่ำ ซี 1 + ขั้นสูง ซี 4) X 12 หาร 2 การคำนวณกรณีตำแหน่งว่าง (สูงกว่าขั้นต่ำ ซี 1 (1 ขั้น ) – ขั้นต่ำ ซี 1 ) + (ขั้นสูง ซี 4 – ต่ำกว่าขั้นสูง ซี 4 ( 1 ขั้น ) x 12 หาร 2 ลข .ซี 1 ( 5,100 – 4,870 ) + ซี 4 (19,100 – 18,480) x 12 / 2 (5,100)

  30. เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 2 ขั้น 7,800 บาท x 12 = 93,600 บาท ขั้นวิ่ง คิดทั้งปี 1 ขั้น = 8,120 – 7,800 = 320 x 12 = 3,840 บาท นำเงิน 3,840 + 93,600 = 97,440 บาท ปีต่อไปนำ (8,450 – 8,120 = 330 x 12 = 3,960) = 3,960 บาท นำขั้น 3,960 + 97,440 = 101,400 บาท ปีต่อไปนำ (8,800 – 8,450 =350 x 12 = 4,320 = 4,320 บาท นำขั้น 4,320 + 101,400 = 105,720 บาท

  31. การวิเคราะห์เงิน 40% ( 1 ) + ( 2) + (3) x 20 % = ( 4) เงินประโยชน์ตอบแทนอื่น ( 1 ) + ( 2) + (3) + (4) = ( 5 ) รวมรายจ่าย ( 5 ) x 100 หาร ( 6) = ( 7) ร้อยละของงบประมาณรายจ่าย ต้องไม่เกิน 40 %

  32. การคำนวณ 40 % ตามมาตรา 35 ของ พ.ร.บ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 งบประมาณรายจ่ายประจำปี คืองบประมาณรายจ่ายที่ตั้งเป็นข้อบัญญัติงบประมาณ ซึ่งรวมเงินอุดหนุนทั่วไปด้วย • เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เงินกู้ ไม่สามารถนำมาตั้งจ่ายเป็นงบประมาณ • หมวดเงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์ตอบแทนอื่นได้ยกเว้นเงินอุดหนุนที่ รัฐจัดสรร เป็นเงินเดือนและสวัสดิการสำหรับพนักงานครูเทศบาล และ การถ่ายโอนตามกฎหมาย แผนกระจายอำนาจ

  33. ประโยชน์ตอบแทนอื่นของข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่นประโยชน์ตอบแทนอื่นของข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น • มี 18 รายการ ตามประกาศ ก.ถ. ลงวันที่ 26ก.ค.2544 ได้แก่ ช่วยเหลือบุตร/การศึกษาบุตร /รักษาพยาบาล /ค่าเช่าบ้าน / บำเหน็จลูกจ้างประจำ /เงินสมทบกองทุนประกันสังคม /เงินสมทบกองทุนบำเหน็จข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น / ฯลฯ • ประโยชน์ตอบแทนอื่น ตามที่ ก.กลางกำหนด (โบนัสประจำปี) • สวัสดิการสำหรับสำนักงานในพื้นที่พิเศษ เป็นต้น

  34. การคำนวณ 40 % อปท. ประมาณการรายรับไว้ 10,000,000 บาท (รายได้ 7ล้าน+อุดหนุน 3ล้าน) ม. 35 แห่ง พรบ.บริหารงานบุคคลฯ พ.ศ. 2542 กำหนดให้การจ่ายเงินเดือน ค่าจ้างประโยชน์ตอบแทนอื่นฯไม่เกิน 40% ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยจ่ายจากเงินรายได้ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้หรือเงินอื่นใด หมายถึง 40% ของ 10,000,000 บาท = 4,000,000 บาท (แต่ไม่เกินยอดเงินรายได้ 7,00,000 บาท ) x + y = < 4 , 000 ,000 บาท เงื่อนไข มีเงินรายรับจริงตามประมาณการรายรับที่ตั้งไว้ < x + y หรือ < x + > y = <4 , 000 ,000 ( ส่วนใหญ่น้อยกว่าประมาณการในแผนอัตรากำลัง )

  35. กรณีเปอร์เซ็นต์ ไม่น้อยกว่าแผนอัตรากำลัง หรือ เกิน 40 % เพราะ - นำเงินไปเพิ่มใน y มากกว่า 20 % ตามที่กำหนดไว้ในแผนอัตรากำลัง 3 ปี < x + > y = < 4 , 000 ,000 - คำนวณเงินของตำแหน่งว่างต่ำ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การคำนวณ เช่น… < x + > y = > 4 , 000 ,000 การคำนวณกรณีตำแหน่งว่าง (สูงกว่าขั้นต่ำ ซี 1 (1 ขั้น ) – ขั้นต่ำ ซี 1 ) + (ขั้นสูง ซี 4 – ต่ำกว่าขั้นสูง ซี 4 ( 1 ขั้น ) x 12 หาร 2 ลข .ซี 1 ( 5,100 – 4,870 ) + ซี 4 (19,100 – 18,480) x 12 / 2 (5,100) ลข .ซี 2 (6,140 – 5,810) + ซี 5 (23,340 – 22,600) x 12 / 2 (6,420) ลข .ซี 3 (7,530 – 7,140) + ซี 6ว (28,880 – 27,960) x 12 / 2 (7,860) ซี 1-3/4 4,870 + 19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) (ขั้นต่ำ ซี 1 + ขั้นสูง ซี 4) X 12 หาร 2 ซี 2-4/5 5,810 + 23,340 x 12 / 2 (174,900 ) ซี 3-5/6ว. 7,140 + 28,880 x 12 / 2 (216,120 ) ซี 7 35,220 + 16,190 x 12 / 2 (308,460) ซี 8 49,830 + 19,860 x 12 / 2 (418,140)

  36. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

  37. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

  38. การกำหนดเลขที่ตำแหน่งการกำหนดเลขที่ตำแหน่ง • (นส.ที่ มท 0808.1/ ว 157 ลงวันที่ 7 ก.พ. 2546) • เลขที่ตำแหน่ง ประกอบด้วยเลขรหัส 9 หลัก ได้แก่ 00-0000-000 • รหัสตัวที่ 1-2 หมายถึง รหัสส่วนราชการ สำนัก กอง • รหัสตัวที่ 3-6 หมายถึง รหัสสายงานของตำแหน่งนั้น ตามบัญชีแสดง กลุ่มสายงาน และประเภทตำแหน่งต่าง ๆ • รหัสตัวที่ 3-4หมายถึง รหัสกลุ่มงาน • รหัสตัวที่ 5-6หมายถึง รหัสลำดับที่สายงานในกลุ่มงานนั้น • รหัสตัวที่ 7-9 หมายถึง รหัสระดับที่พนักงานส่วนท้องถิ่นในสายงานนั้น

  39. การกำหนดตำแหน่ง

  40. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

  41. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

  42. การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

  43. การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหารใน อบต. ขนาด อบต. ระดับตำแหน่ง ปลัดระดับ 8 : รายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป มีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8

  44. การกำหนดตำแหน่งบริหาร อบต.ตามกรอบ

  45. การกำหนดตำแหน่งตามกรอบโครงสร้างส่วนราชการของ เทศบาล ปลัดระดับ 8 : ต้องมีรายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป จะมีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8

  46. การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาลการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาล ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เทศบาล - กองส่งเสริมวัฒนธรรมฯ - กองเทคโนโลยีสารสนเทศ - กองนิติการ - กองวิเทศสัมพันธ์ - กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ - กองส่งเสริมกิจการขนส่ง - กองทรัพยากรธรรมชาติฯ - กองส่งเสริมกิจการพาณิชย์ - กองเทศกิจ - กองส่งเสริมการเกษตร - กองผังเมือง - กองทะเบียนราษฎรและบัตรฯ (รวม 13 กอง) สำนักปลัดเทศบาล กอง/สำนักการคลัง กอง/สำนักการช่าง เล็ก กลาง 20 ล้าน ใหญ่ 150 ล้าน เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่จำเป็นต้องมี - กอง/สำนักการสาธารณสุขฯ - กอง/สำนักการศึกษา - กอง/สำนักวิชาการและแผนงาน - กอง/สำนักการประปา - กอง/สำนักการแพทย์ - กอง/สำนักการช่างสุขาภิบาล - กอง/สำนักสวัสดิการสังคม - หน่วยตรวจสอบภายในและแขวง

  47. การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต. อบต. ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เล็ก กลาง 6 ล้าน ใหญ่ 20 ล้าน • สำนักงานปลัด อบต. • กองหรือส่วนการคลัง • กองช่างหรือส่วนโยธา -กองสวัสดิการสังคม -กองส่งเสริมการเกษตร -กองการศึกษา ฯ -กองสาธารณสุขฯ -กองนิติการ -กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ -กองเทศกิจ -กองผังเมือง -กองกิจการพาณิชย์ -กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (รวม 10 กอง) เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่กำหนดตามความเหมาะสม - กองหรือส่วนส่งเสริมการเกษตร - กองหรือส่วนการศึกษาฯ - กองหรือส่วนสาธารณสุขฯ

  48. ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ (ขนาดเล็ก) หัวหน้ากองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) งานสังคมสงเคราะห์ - นักสังคมสงเคราะห์ หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา งานธุรการ - จพง.ธุรการ หรือ จนท.ธุรการ อย่างน้อย 1 อัตรา งานพัฒนาชุมชน - นักพัฒนาชุมชน - จนท. พัฒนาชุมชน หรือ จพง.พัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 อัตรา งานสวัสดิการเด็กและเยาวชน -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา

  49. ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ (ขนาดกลาง) ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 7) งานธุรการ - จพง.ธุรการ หรือ จนท.ธุรการ หรือ ในกลุ่มงานปฏิบัติช่วยบริหารจัดการ อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายสังคมสงเคราะห์ (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) - นักสังคมสงเคราะห์ หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายสวัสดิการเด็กและเยาวชน (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายพัฒนาชุมชน (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) - นักพัฒนาชุมชน - จนท. พัฒนาชุมชน หรือ จพง.พัฒนาชุมชน อย่างน้อย 2 อัตรา ควรกำหนดให้มีส่วนราชการภายใน อย่างน้อย 2 ฝ่าย

  50. 1-3/4 โครงสร้างส่วนการคลัง

More Related