1 / 16

การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์

การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์. http://www.fisheries . go.th. เลือก เว็บไซต์กรมประมง. เลือกโครงการต่าง ๆ ของกรมฯ แล้วเลือก โครงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์. หลักการเกษตรอินทรีย์ของ IFOAM. หลักการด้านสุขภาพ (Principle of health) เพิ่มพูนสุขภาพทั้งของดิน พืช สัตว์ คน และของโลก

steffie
Télécharger la présentation

การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ http://www.fisheries.go.th เลือก เว็บไซต์กรมประมง เลือกโครงการต่าง ๆ ของกรมฯ แล้วเลือก โครงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์

  2. หลักการเกษตรอินทรีย์ของ IFOAM • หลักการด้านสุขภาพ (Principle of health) เพิ่มพูนสุขภาพทั้งของดิน พืช สัตว์ คน และของโลก • หลักการด้านนิเวศวิทยา (Principle of ecology) อยู่บนพื้นฐานระบบนิเวศที่หมุนเวียนเป็นวัฏจักรไม่หยุดนิ่ง • หลักการด้านความเป็นธรรม (Principle of fairness) มีการแบ่งปันใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นของส่วนรวม ให้คนและสัตว์ได้รับโอกาสในชีวิต • หลักการด้านความดูและเอาใจใส่ (Principle of care) มีการจัดการอย่างระมัดระวัง รับผิดชอบในการป้องกันสุขภาพและความเป็นอยู่ของชนรุ่นปัจจุบันและอนาคต

  3. ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับสัตว์น้ำอินทรีย์ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับสัตว์น้ำอินทรีย์ • ห้ามใช้ยาปฏิชีวนะ • อนุญาตให้ใช้สารบางชนิดในการผลิตและการแปรรูป • ใช้ระบบจัดการผลิตแบบองค์รวม (holistic) • ห้ามใช้ปุ๋ยเคมี • ห้ามใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ • ห้ามใช้สิ่งมีชีวิตหรือวัตถุที่ได้จากการดัดแปรพันธุกรรม (GMOs) • มีสวัสดิภาพสำหรับสัตว์ (animal welfare) • มีการจดบันทึกข้อมูลเพื่อตรวจสอบย้อนกลับ

  4. มาตรฐานหน่วยรับรองระบบงาน(Accreditation Body, AB) • มาตรฐานขั้นต่ำของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (IBS) • ข้อกำหนดของสภาสหภาพยุโรป EEC No. 2092/91 • แนวทางโครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex) • มาตรฐานโครงการอินทรีย์แห่งชาติ ของอเมริกา (NOP/USDA) • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของประเทศญี่ปุ่น (JAS) • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

  5. มาตรฐานหน่วยรับรอง(Certification Body, CB) • มาตรฐานที่อ้างอิงจาก IBS ตามหลักการ ต่ำกว่าไม่ได้แต่สูงกว่าได้ • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2003 สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) • Naturland เยอรมนี • Soil Association สหราชอาณาจักร • Bioagricert อิตาลี • Debio นอร์เวย์ • KRAV สวีเดน • BIO-GRO นิวซีแลนด์ • BIO SUISSE สวิสเซอร์แลนด์

  6. มาตรฐานหน่วยรับรอง (ต่อ)(Certification Body, CB) • มาตรฐานที่อ้างอิงจากข้อกำหนดสภาสหภาพยุโรป • ERNTE ออสเตรีย • มาตรฐานที่อ้างอิง IBS และ Codex • มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ของประเทศไทย • มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ของประเทศไทย • มาตรฐานปศุสัตว์อินทรีย์ • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ ฯลฯ

  7. ลักษณะพิเศษของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ลักษณะพิเศษของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ • หน่วยรับรองระบบ (CB) ต้องได้รับการรับรองระบบงานจาก AB ตาม ISO/IEC Guide 65หรือ EN 45011 • ต้องมีการเทียบมาตรฐาน(Harmonize) • หน่วยรับรอง (CB)ต้องได้รับการยอมรับจากประเทศผู้นำเข้า • การรับรองมาตรฐานเป็นการรับรองตลอดกระบวนการไม่ใช่ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์สุดท้าย • ผู้ตรวจประเมิน (Auditor)ต้องไม่ทำหน้าที่ส่งเสริมหรือให้คำแนะนำ

  8. มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์ของกรมประมงมาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์ของกรมประมง 1. มาตรฐานทั่วไป - มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ของประเทศไทย 2. มาตรฐานเฉพาะ - มาตรฐานผลิตภัณฑ์กุ้งทะเลอินทรีย์จากการเพาะเลี้ยงของประเทศไทย - มาตรฐานผลิตภัณฑ์กุ้งก้ามกรามอินทรีย์จากการเพาะเลี้ยงของประเทศไทย - มาตรฐานการเลี้ยงสัตว์น้ำจืดอินทรีย์ของประเทศไทย

  9. Main Organic Aquaculture Production TROUT/CARP SALMON MUSSEL TILAPIA SHRIMP SHRIMP SALMON MUSSEL

  10. ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ ปี 2546 • ปลาแซลมอน 5,000 ตัน • ปลาไนและปลาเทราท์ 500 ตัน • กุ้งแวนนาไม 1,000 ตัน กุ้งกุลาดำ 500 ตัน • สาหร่าย หอยแมลงภู่ ปลากะพง 500 ตัน รวม 7,500 ตัน

  11. ผลผลิตจากการเลี้ยงกุ้งทะเลอินทรีย์ ปี 2546

  12. กุ้งกุลาดำอินทรีย์ของประเทศไทยกุ้งกุลาดำอินทรีย์ของประเทศไทย • กุ้งกุลาดำอินทรีย์รุ่นแรกของประเทศไทย กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์จ้างบริษัท Bioagricertประเทศอิตาลีรับรองมาตรฐาน ในปี 2546 ผลิตได้เพียง 2 ตัน ไม่มีการส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศเนื่องจากสินค้าไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์

  13. การผลิตกุ้งทะเลอินทรีย์การผลิตกุ้งทะเลอินทรีย์ ใช้พันธุ์จากโรงเพาะฟัก GAP หรือ CoC ตามหลักการแล้วต้องใช้พันธุ์จากโรงเพาะฟักอินทรีย์ ใช้อาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอินทรีย์ การจดบันทึกข้อมูลเป็น สิ่งสำคัญในการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน กระบวนการแปรรูปต้องแยกออกจากกุ้งทั่วไป ที่ไม่ใช่กุ้งอินทรีย์

  14. ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ 1. พันธุ์สัตว์น้ำ - การใช้ฮอร์โมน Suprefactร่วมกับ Domperidone - การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์แปลงเพศปลา - การเพาะพันธุ์กุ้งทะเลโดยวิธีตัดตา/บีบตา - การใช้ปุ๋ยเคมีเพาะแพลงก์ตอนเป็นอาหารลูกกุ้ง 2. อาหารสัตว์น้ำ - กากถั่วเหลืองที่นำเข้าเป็น GMOs - ห้ามใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์น้ำที่ได้จากการสกัดด้วยตัวทำละลาย - ห้ามใช้เปลือกกุ้งในส่วนผสมของอาหารกุ้ง

  15. ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์(ต่อ)ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์(ต่อ) - ให้ลดการใช้ปลาป่น / น้ำมันปลาแล้วทดแทนด้วยเศษเหลือ (by - product) จากขบวนการแปรรูป 50 % - ใช้ปลาป่นจากแหล่งภูมิศาสตร์เดียวกันกับชนิดสัตว์น้ำที่เลี้ยง และเป็นปลาป่น ที่ได้จากการทำการประมงที่ยั่งยืน 3. การรักษาโรค - บางมาตรฐานอนุญาตให้ใช้ยาได้แต่ระยะการหยุดยาต้องนาน เป็น 2 เท่า - บางมาตรฐานไม่อนุญาต หากมีการใช้ยาจะหมดสภาพการเป็น สัตว์น้ำอินทรีย์

More Related