1 / 24

ประชุมชี้แจงประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทาง การประเมินผลการปฏิบัติราชการและการเลื่อนเงินเดือน

ประชุมชี้แจงประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทาง การประเมินผลการปฏิบัติราชการและการเลื่อนเงินเดือน ของข้าราชการพลเรือนสามัญ สป. 1. ที่มาของระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน. 2.

Télécharger la présentation

ประชุมชี้แจงประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทาง การประเมินผลการปฏิบัติราชการและการเลื่อนเงินเดือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชุมชี้แจงประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทาง การประเมินผลการปฏิบัติราชการและการเลื่อนเงินเดือน ของข้าราชการพลเรือนสามัญ สป. 1

  2. ที่มาของระบบบริหารผลการปฏิบัติงานที่มาของระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน 2 มาตรา 74 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประพฤติตนอยู่ในจรรยาและระเบียบวินัยและปฏิบัติราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ตามควรแก่กรณีตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. และจะให้บำเหน็จความชอบอย่างอื่นซึ่งอาจเป็นคำชมเชย เครื่องเชิดชูเกียรติ หรือรางวัลก็ได้( ว 28) มาตรา 76 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง และเลื่อนเงินเดือน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ. กำหนด (ว 20 ว 27) ผลการประเมินตามวรรคหนึ่งให้นำไปใช้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการด้วย 2

  3. ‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ ความหมาย • กระบวนการผลักดันให้องค์กรบรรลุเป้าหมายอย่างเป็นระบบ • การเชื่อมโยงเป้าหมายระดับองค์กร ระดับสำนัก/กอง จนถึงระดับบุคคลเข้าด้วยกัน • การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน • การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม • การติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง • การประเมินผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ • การนำผลที่ได้จากการประเมินไปประกอบการพิจารณาตอบแทน ความดีความชอบแก่ผู้ปฏิบัติงาน 3

  4. ‘การบริหารผล’ การปฏิบัติงาน ประโยชน์ ข้าราชการ ส่วนราชการ เป้าหมายการปฏิบัติงานของข้าราชการทุกระดับสอดคล้องกับทิศทางและเป้าหมายขององค์กร การสื่อสารระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาเพิ่มมากขึ้น ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับทำงานเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจขององค์กร ผลการปฏิบัติงานขององค์กรสูงขึ้น จากการมีข้อมูลในการเทียบเคียง รับทราบถึงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานของตนเองอย่างชัดเจน เห็นความเชื่อมโยงของงานที่ตนทำกับความสำเร็จขององค์กร ได้รับการพัฒนาตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล ได้รับการประเมินผลงานที่ชัดเจนจากการทำข้อตกลงผลการปฏิบัติงานไว้ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน 4

  5. การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน ♥ ความหมาย♥ การประเมินความสำเร็จของงานที่ผู้ปฏิบัติรายบุคคล หรือผลงานรายกลุ่มที่ปฏิบัติได้จริงตลอดรอบการประเมิน ตามวิธีการที่องค์กรกำหนด เปรียบเทียบกับเป้าหมายผลการปฏิบัติราชการตามแผนการปฏิบัติราชการ หรือมาตรฐานผลงานที่วางไว้เมื่อต้นรอบการประเมินรวมถึงพฤติกรรมการปฏิบัติราชการด้วย 5

  6. คะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มาจากองค์ประกอบหลักของการประเมิน 2 ส่วน คะแนนการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ 6

  7. ประกาศของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการประกาศของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ • พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 76 ว 20 และ ว 27 : ประกาศเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ • พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 74 และ ว 28 : ประกาศเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการการเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนสามัญ 7

  8. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ผู้ประเมินคือใคร ผู้ถูกประเมิน ผู้ประเมิน ผอ. สำนัก ปลัดกระทรวงหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ข้าราชการ ผู้อำนวยการสำนักหรือผู้ที่ได้รับ ในสำนัก มอบหมาย 8

  9. รอบการประเมิน 2 รอบใน 1 ปีงบประมาณ รอบที่ 1 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคม ของปีถัดไป รอบที่ 2 1 เมษายน ถึง 30 กันยายน 9

  10. องค์ประกอบการประเมิน สป. กำหนด 2 องค์ประกอบ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน น้ำหนัก ร้อยละ 80 2. พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ ร้อยละ 20 (ยกเว้นผู้ที่อยู่ระหว่างทดลองราชการ 50 : 50) 10

  11. ส่วนของผลสัมฤทธิ์ของงานส่วนของผลสัมฤทธิ์ของงาน ที่มาของงานในการนำมากำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย งานตามยุทธศาสตร์ งานตามภารกิจ งานที่ได้รับมอบหมาย จำนวนตัวชี้วัด 4 -7 ตัวชี้วัด / คน / รอบการประเมินกำหนด น้ำหนักรวม 100 แต่ละตัวไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 11

  12. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน • ตามที่ผู้ปฏิบัติงานได้ทำความตกลงถึงผลการปฏิบัติราชการร่วมกับผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน (ตัวชี้วัด) • ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติได้จริงเทียบกับค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 12

  13. กำหนดให้แต่ละสำนักตั้งคณะกรรมการระดับกลุ่มงานพิจารณาตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายกำหนดให้แต่ละสำนักตั้งคณะกรรมการระดับกลุ่มงานพิจารณาตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย • ระหว่างรอบการประเมินเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดได้ แต่ต้องไม่ใช่เกิดจากผู้ถูกประเมินไม่สามารถทำได้ 13

  14. ประเภทของตัวชี้วัด สป. กำหนดไว้ 4 ประเภท แต่ถ้าจะมีนอกเหนือจาก 4 ประเภท ก็ได้ ได้แก่ ประเภทที่มุ่งเน้นปริมาณของงาน ประเภทที่มุ่งเน้น คุณภาพของงาน ประเภทที่มุ่งเน้นเวลาที่งานสำเร็จหรือ ทันการณ์ และประเภทที่มุ่งเน้นความประหยัดหรือความคุ้มค่า ในการใช้ทรัพยากร 14

  15. ประเภทของตัวชี้วัด • Specification • ข้อร้องเรียน • คำชม • ความพึงพอใจของลูกค้า • หน่วย/วัน • จำนวนหน่วยที่ผลิต • ปริมาณการให้บริการ • จำนวนโครงการที่สำเร็จ • จำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ • จำนวนโทรศัพท์ที่รับสาย KPIs : ด้านปริมาณ(Quantity) KPIs : ด้านคุณภาพ(Quality) KRA KPIs : ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน (Cost-Effectiveness) KPIs : ด้านกำหนดเวลา(Timeliness) • จำนวนเงินที่ใช้จ่าย • จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม • ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ • ร้อยละของเงินงบประมาณที่สามารถเบิกจ่ายได้ตามเวลาที่กำหนด • ตารางการทำงานสำเร็จตามแผน • งานเสร็จตามวันครบกำหนด • ส่งงานตามกำหนดการ • งานเสร็จภายใน Cycle time

  16. พฤติกรรมการปฏิบัติงาน/สมรรถนะพฤติกรรมการปฏิบัติงาน/สมรรถนะ สป. กำหนดให้ใช้ 2 ประเภท สมรรถนะหลัก 5 เรื่องตามที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะทางการบริหาร 6 เรื่อง ข้าราชการทุกคน ประเมินสมรรถนะหลัก 5 เรื่อง ยกเว้น ผู้บริหาร หรือ ผอ.สำนัก ให้ประเมินสมรรถนะทางการบริหาร เพิ่มด้วย 16

  17. น้ำหนักพฤติกรรมการปฏิบัติงาน/สมรรถนะน้ำหนักพฤติกรรมการปฏิบัติงาน/สมรรถนะ สมรรถนะหลัก 5 เรื่อง @ 20 คะแนน รวม 100 ข้าราชการในสำนัก สมรรถนะหลัก 5 เรื่อง @ 8 คะแนน รวม 40 ผอ. สำนัก สมรรถนะบริหาร 6 เรื่อง @ 10 คะแนน รวม 60 17

  18. แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ สป. สมรรถนะหลัก องค์ประกอบในการประเมิน ข้าราชการ อยู่ระหว่างทดลองราชการ ข้าราชการทั่วไป • ผลสัมฤทธิ์ของงาน • งานตามยุทธศาสตร์ • งานตามภารกิจ • งานได้รับมอบหมายพิเศษ 80% 50% คะแนนผลการปฏิบัติราชการ 100% พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) 20% 50% 18

  19. การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่ ยกเลิกโควตา ๑๕% ประเมิน ผลงานประจำปี เลื่อนเงินเดือนเป็น % ของค่ากลาง ผลงานดีเด่น/ครึ่งปี : ไม่เกิน ๖% ของค่ากลาง งบประมาณ/ครึ่งปี : ๓% ของเงินเดือนทุกคนในองค์กร ปีละ ๒ ครั้ง • อย่างน้อย ๕ ระดับการเลื่อน (% ของค่ากลาง) • ไม่กำหนด Force distribution • ส่วนราชการบริหารงบประมาณเอง (๓%) • ผลงานดีเด่นเลื่อนไม่เกิน ๖% ในรอบครึ่งปี • ผลงานระดับอื่น ให้หน่วยงานกำหนดเอง • ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดของช่วงเงินเดือนแต่ละสายงาน • เงินเดือนตันให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษ • แจ้งผล : • เป็นการส่วนตัว • ประกาศระดับผลการประเมินและ % การเลื่อนในแต่ละระดับ 19

  20. การจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือนการจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือน ปัจจุบัน แนวใหม่ ส่วนกลาง (ปลัดฯ อธิบดี) ส่วนกลาง วิชาการ/ทั่วไป 9 ขึ้นไป 8 ลงมา อำนวยการ ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค(ผู้ว่าฯ) บริหาร 20

  21. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขอื่นหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอื่น • อยู่ระหว่างการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง เลื่อนเงินเดือนได้ • ทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน จึงเลื่อนเงินเดือนได้ • ทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน เสียชีวิต ให้เลื่อนเงินเดือนได้ในวันก่อนเสียชีวิต • เกษียณอายุราชการ เลื่อนเงินเดือนในวันที่ 30 ก.ย. • ทำงานองค์การระหว่างประเทศ รอเลื่อนเงินเดือนไว้ก่อน กลับมาแล้ว เลื่อนย้อนหลังในอัตราร้อยละ 3 ของอัตรเงินเดือนที่รับ 21

  22. ผู้มีสิทธิ์ได้รับการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนผู้มีสิทธิ์ได้รับการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน • ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน ๒เดือน • ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร • ไม่ลา/สาย เกินจำนวนครั้งที่กำหนด • ลาไม่เกิน ๒๓วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท / คลอดบุตร / ป่วยจำเป็น / ป่วยประสบอันตราย / พักผ่อน /ตรวจเลือก/ เตรียมพล / ทำงานองค์การระหว่างประเทศ 22

  23. ค่ากลางสองค่า การเลื่อนเงินเดือนตามแนวทางใหม่ บริหาร                           อำนวยการ วิชาการ 64,340 59,770 59,770 50,550 66,480 33,540 47,450 22,220 66,480 18,190 36,020 59,770 50,550 ทั่วไป 63,290 19,950 60,430 27,710 44,260 39,440 15,730 52,650 30,600 56,890 52,310 43,190 60,290 45,540 21,880 54,010 25,190 44,850 17,680 54,110 35,830 31,440 37,980 13,270 61,650 56,530 37,970 45,530 35,820 17,670 44,840 13,260 21,870 54,100 31,430 54,000 25,180 61,640 56,520 31,220 10,790 20,350 45,150 31,680 16,030 51,110 61,640 15,390 44,060 52,650 28,270 53,360 18,910 28,550 23,230 18,910 12,530 10,190 15,410 28,550 4,630 48,220 6,800 23,230 23,230 23

  24. ถาม-ตอบ 24

More Related