1 / 88

ฐานการผลิต/โครงสร้างตลาดในอาเซียน

ฐานการผลิต/โครงสร้างตลาดในอาเซียน. จินตนา ชัยยวรรณาการ รองอธิบดี กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. โครงการฝึกอบรม “หลักสูตรผู้บริหารระดับกลางกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน” วันอังคารที่ 11 มิถุนายน 2556 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องราชดำเนิน โรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง. ประเด็นนำเสนอ.

Télécharger la présentation

ฐานการผลิต/โครงสร้างตลาดในอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ฐานการผลิต/โครงสร้างตลาดในอาเซียนฐานการผลิต/โครงสร้างตลาดในอาเซียน จินตนา ชัยยวรรณาการ รองอธิบดี กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ โครงการฝึกอบรม “หลักสูตรผู้บริหารระดับกลางกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน” วันอังคารที่ 11 มิถุนายน 2556 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องราชดำเนิน โรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง

  2. ประเด็นนำเสนอ • ข้อผูกพันภายใต้ตลาดฐานการผลิตเดียวกัน • สถานะทางการค้ากลุ่มอาเซียน • แนวโน้มในอนาคต • ทรัพยากร สินค้าส่งออก บริการ กลุ่มอาเซียน • ศักยภาพของประเทศไทย • SWOTกลุ่มประเทศ ASEAN • นโยบายเศรษฐกิจกลุ่มประเทศ ASEAN • โอกาสของประเทศไทยใช่หรือไม่? • ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  3. AEC Blueprint : ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมเศรษกิจอาเซียน 4 เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว AEC Blueprint 2. มีขีดความสามารถ ในการแข่งขันสูง 3. มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ที่เท่าเทียมกัน 4. บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ได้อย่างสมบูรณ์

  4. 1.1 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์ (ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification

  5. 1.2 อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น FLEXIBILITY สามารถไม่เปิดเสรี ในบางสาขาได้

  6. 1.3 อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก NT – MFNการลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต ACIAความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) - ลงนามปี 2552 IGAความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investment/ Investment Guarantee Agreement) - ปี 1987 AIAกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area) - ปี 1998

  7. Movement of Natural Person: MNP การเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา ข้อผูกพันของไทยจะอนุญาตให้มีการเคลื่อนย้ายบุคลากร 2 ประเภทเท่านั้น คือ ผู้เยี่ยมเยือนทางธุรกิจ (Business Visitor: BV) ผู้โอนย้ายภายในบริษัท (Intra-Corporate Transferee: ICT)

  8. MRAของอาเซียนซึ่งได้ตกลงแล้วMRAของอาเซียนซึ่งได้ตกลงแล้ว MRA ลงนามปี 2548 มีผล 2552 ใช้กับเฉพาะประเทศสมาชิกที่ยื่นหนังสือเข้าร่วม สาขาวิศวกรรม หน่วยงานไทยผู้พิจารณา รับขึ้นทะเบียน สาขาสถาปัตยกรรม ลงนามปี 2550 มีผลทันที ใช้กับเฉพาะประเทศสมาชิกที่ยื่นหนังสือเข้าร่วม สภาวิศวกร สาขาแพทย์ ลงนามปี 2552 มีผล 6 เดือนหลังลงนาม ใช้กับทุกประเทศสมาชิก สภาสถาปนิก สาขาทันตแพทย์ ลงนามปี 2552 มีผล 6 เดือนหลังลงนาม ใช้กับทุกประเทศสมาชิก แพทยสภา สาขาพยาบาล ลงนามปี 2549 มีผลทันที ใช้กับทุกประเทศสมาชิก ทันตแพทยสภา สาขาท่องเที่ยว ลงนามปี 2555 สภาวิชาชีพพยาบาล MRA Framework - กรอบกำหนดแนวทางเพื่อเป็นพี้นฐานการเจรจาทำ MRA ในอนาคต สาขานักสำรวจ ลงนามปี 2550 ต้องเจรจาในรายละเอียดกันต่อ สาขานักบัญชี ลงนามปี 2552 ต้องเจรจาในรายละเอียดกันต่อ

  9. สถานะทางการค้ากลุ่มอาเซียนสถานะทางการค้ากลุ่มอาเซียน

  10. ASEAN Trade, 2009-2010

  11. Intra- and extra-ASEAN trade, 2011

  12. ASEAN trade by selected partnercountry/region, 2011

  13. Top ten ASEAN trade partner countries/regions, 2011

  14. Top ten export markets and import origins, 2011

  15. Top ten ASEAN trade commodity groups, 2011

  16. แนวโน้มเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตแนวโน้มเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคต

  17. เศรษฐกิจเอเชียจะกลายเป็นศูนย์กลางความเจริญของโลกเศรษฐกิจเอเชียจะกลายเป็นศูนย์กลางความเจริญของโลก คาดว่าในปี 2030 • ส่วนแบ่งของ emerging Asia ใน global GDP เพิ่มจาก 21% ในปี 2010 เป็น 47% 45% ของ global growth มาจาก emerging Asia Nominal global GDP 2010 USD 62 trn. Projected nominal global GDP 2030 USD 308 trn. • source : IMF, Standard Chartered Research

  18. ทรัพยากร สินค้าส่งออก บริการ กลุ่มประเทศอาเซียน

  19. ทรัพยากรธรรมชาติ/สินค้าส่งออกสำคัญทรัพยากรธรรมชาติ/สินค้าส่งออกสำคัญ ของสมาชิกอาเซียน-5 น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเลียม เสื้อผ้า ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และไม้ บรูไนฯ น้ำมันและก๊าซ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยางพารา เสื้อผ้าสำเร็จรูป น้ำมันปาล์ม ไม้อัด น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ ถ่านหิน สินแร่ อินโดนีเซีย ดีบุก ปิโตรเลียม ไม้สัก ทองแดง เหล็กก๊าซธรรมชาติ น้ำมันปาล์มหินแร่ น้ำมันและก๊าซ ยางพารา คอมพิวเตอร์ รถยนต์และอุปกรณ์ น้ำมันปาล์ม มาเลเซีย สับปะรด มะพร้าว กล้วย รถยนต์และอุปกรณ์ น้ำมัน แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องสำอาง พลาสติก ป่าไม้ น้ำมัน แร่ธาตุ เช่น เงิน ทองคำ ทองแดง ฟิลิปปินส์ เครื่องจักร เครื่องไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ เสื้อผ้า สิงคโปร์ -

  20. ทรัพยากรธรรมชาติ/สินค้าส่งออกสำคัญของ CLMV กัมพูชา อัญมณี เหล็ก ฟอสเฟต ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซ ไม้สัก เสื้อผ้า ยางพารา รองเท้า ข้าว ปลา ยาสูบ สปป.ลาว ป่าไม้ ข้าว ข้าวโพด เหล็ก ถ่านหิน ทองคำ ทองแดง แหล่งน้ำผลิตไฟฟ้า ไม้ซุง ไม้แปรรูป กาแฟ เหล็ก ทองแดง ทองคำ เมียนมาร์ ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ อัญมณี ไม้ซุง ดีบุก สังกะสี ทองแดง ตะกั่ว น้ำมันและก๊าซ ไม้และผลิตภัณฑ์ ข้าว สินค้าประมง ป่าไม้ น้ำมัน แร่ธาตุ เช่น เงิน ทองคำ ทองแดง ข้าว เสื้อผ้า รองเท้า กาแฟผลิตภัณฑ์ไม้ สินค้าประมง คอมพิวเตอร์ เวียดนาม

  21. สาขาบริการที่มีศักยภาพสาขาบริการที่มีศักยภาพ ท่องเที่ยว และบริการเกี่ยวเนื่อง บรูไนฯ ICT กัมพูชา ท่องเที่ยว และบริการเกี่ยวเนื่อง สปป.ลาว สปา สถาปนิก (ออกแบบ/จัดสวน) อินโดนีเซีย ท่องเที่ยว และบริการเกี่ยวเนื่อง ค้าส่ง/ปลีก ขนส่ง การเงิน ประกันภัย ท่องเที่ยว อสังหาฯ เมียนมาร์ มาเลเซีย ท่องเที่ยว และบริการเกี่ยวเนื่อง ท่องเที่ยว ICT ขนส่ง เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ICT การศึกษา สุขภาพ การเงิน โลจิสติกส์ ท่องเที่ยว สิงคโปร์

  22. ศักยภาพ ประเทศไทย

  23. ไทยกับอาเซียน ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2555 ปี 2535 ปี 2555 อาเซียน24.7% ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งออกรวม 229,518.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  24. ไทยกับอาเซียน แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2555 ปี 2535 ปี 2555 อาเซียน16.3% นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นำเข้ารวม 247,590.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  25. 20 ตลาดส่งออกของไทยในอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

  26. 21 สินค้าส่งออกของไทยในอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

  27. 22 แหล่งนำเข้าของไทยจากอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

  28. สินค้านำเข้าของไทยจากอาเซียนสินค้านำเข้าของไทยจากอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

  29. การค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2555

  30. ความสำคัญของภาคบริการต่อระบบธุรกิจของไทยความสำคัญของภาคบริการต่อระบบธุรกิจของไทย

  31. ความสำคัญของภาคบริการ : สัดส่วนต่อ GDP(2011) ที่มา : ธนาคารโลก (World Bank)

  32. คาดการณ์สัดส่วนภาคบริการต่อ GDP ของอาเซียน ที่มา : Economist Intelligence Unit

  33. การส่งออกบริการของไทย ปี 2012 • ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย (เมษายน 2556)

  34. การนำเข้าบริการของไทย ปี 2012 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย (เมษายน 2556)

  35. ไทยและมูลค่า การค้าบริการในโลก ในปี 2011 หน่วย (Billion dollars and Percentage) ที่มา : WTO, World Trade Report 2012

  36. สรุปแนวโน้มที่สำคัญของโลกและนัยต่อภาคบริการสรุปแนวโน้มที่สำคัญของโลกและนัยต่อภาคบริการ • ชนชั้นกลางเพิ่มขึ้นมาก มีความต้องการสินค้าอาหารโปรตีน สินค้าคงทน สินค้าด้านพลังงาน มากขึ้น อุปสงค์ต่อการค้าบริการต่างๆ สูงขึ้น • ผู้บริโภคเพิ่มความใส่ใจด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (well-being) • อุปสงค์ของสินค้าแบบ Customizable Products เพิ่มขึ้น (ทั้งในเชิงเหมาะกับลูกค้า หรือเหมาะกับภูมิภาคนั้นๆ) • อุปสงค์ของสินค้าที่ใส่ใจกับสิ่งแวดล้อม (Green Product & Services) และใส่ใจกับสังคม (Social Responsibility) มากขึ้น • การพัฒนาเทคโนโลยี ICT, Technology Convergence การเพิ่มความสำคัญของ Social Network • มูลค่าการค้าภายในภูมิภาคเอเชีย มีแนวโน้มสูงขึ้น บริการสุขภาพ บริการสิ่งแวดล้อม บริการผู้สูงอายุ บริการท่องเที่ยว บริการ MICE บริการประกันภัย บริการการเงิน บริการ ICT บริการวิชาชีพ บริการด้านบันเทิง บริการกระจายสินค้า

  37. ภาพรวมการลงทุน

  38. ภาวะเศรษฐกิจและการลงทุน ปี 2556 • เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างช้าๆ โดยประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่มีแนวโน้มขยายตัวดีกว่าประเทศพัฒนาแล้ว • เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโน้มฟื้นตัวดี ในขณะที่ปัญหาในยุโรปยังยืดเยื้อ ส่วนญี่ปุ่นเศรษฐกิจยังอ่อนแอจนต้องมีมาตรการอัดฉีดสภาพคล่องเพิ่มเติม • IMF คาดการณ์ว่า GDP ในปี 2556 จะอยู่ที่ร้อยละ 3.6 ภาวะเศรษฐกิจโลก ปี 2556 การลงทุนไทย ปี 2556 • เศรษฐกิจยังทรงตัว การส่งออกสินค้าค่อยๆ ฟื้นตัวตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่มี เสถียรภาพขึ้น • ค่าเงินบาทปรับแข็งค่าขึ้น • GDP ปี 56 อยู่ที่ร้อยละ 4.9 และการคาดการณ์ GDP ปี 57 จะโตขึ้น 4.8% • อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจปี 2556 คาดการณ์อยู่ที่ ร้อยละ 5.1 • ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย (เมษายน 2556)

  39. แนวโน้มการลงทุนโลก ปี 2556 UNCTAD • การลงทุนยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง • การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้า เพิ่มขึ้นในทุกระดับภูมิภาค โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา • แหล่งรองรับการลงทุน (2012-2014) 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา อินเดีย อินโดนีเซีย และบราซิล ตามลำดับ ไทย อยู่ในลำดับที่ 8

  40. การลงทุนในอาเซียน ประเทศที่เข้ามาลงทุนในอาเซียนมากที่สุด ได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐฯ และตามมาติดๆ อย่าง ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ได้เข้ามาลงทุนในอาเซียนเพิ่มขึ้น ASEAN USA Japan Korea Cayman China India Australia Canada Islands Note: Latest available data in Year 2010 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2012

  41. SWOT Analysisของประเทศในอาเซียน

  42. SWOTAnalysis บรูไน (1) Strength • มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและกำลังซื้อสูง • ส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน • ค้าส่ง ค้าปลีก การก่อสร้าง คมนาคมกำลังเติบโต Weakness • เคร่งครัดในระบบการนำเข้าสินค้า อาหาร ส่งผลล่าช้าและไม่คล่องตัว • ตลาดภายในขนาดเล็ก • ขาดแคลงแรงงานฝีมือ • ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก

  43. SWOTAnalysis บรูไน (2) Opportunity • นำเข้าสินค้าเกษตรหลายรายการ • พึ่งพาแรงงานต่างชาติ • ใช้ทรัพยากรธรรมชาตให้เกิดความหลากหลายทางเศรษฐกิจ Threat • กระบวนการสั่งซื้อและขนส่งสินค้าไม่คล่องตัว ต้องผ่านสิงคโปร์ • สินค้าส่งไปบรูไนมีเฉพาะขาไป • ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก

  44. SWOTAnalysis อินโดนีเซีย (1) Strength 1. อินโดนีเซียเป็นตลาดใหญ่ 2. กำลังซื้อสูงมากและนิยมสินค้าที่มีคุณภาพ 3. ที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ 4. มีแรงงานจำนวนมาก และค่าแรงถูก Weakness 1. กฎหมายและกฎระเบียบบางอย่าง ไม่มีความชัดเจนและโปร่งใส 2. ระบบราชการที่มีกระบวนการมาก ซับซ้อนและยุ่งยาก 3. ยังมีปัญหาเรื่องการทุจริตในระบบราชการ • ที่มา: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

  45. SWOTAnalysis อินโดนีเซีย (2) Opportunity 1. ปริมาณความต้องการสินค้าและบริการสูง 2. อยู่ระหว่างการพัฒนาประเทศ 3. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศอย่างชัดเจน Threats 1. มีการกำหนดมาตรการทางการค้าในลักษณะที่เป็นการกีดกันทางการค้า 2. ตลาดอินโดนีเซียมีการแข่งขันสูง โดยเฉพาะสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศ เช่น จีน เวียดนาม และอินเดีย เป็นต้น 3. ภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะ ส่งผลต้นทุน Logistic • ที่มา: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

  46. SWOTAnalysis มาเลเซีย (1) Strength • นโยบายพัฒนาประเทศชัดเจนและต่อเนื่อง • เป็นศูนย์กลางฮาลาลของโลก และมีมาตรฐานยอมรับ • แรงงานคุณภาพดี มีวินัย • ระบบบริการ Logistics ครบวงจร • มีความสัมพันธ์ที่ดีกับกุลุ่มตะวันออกกลาง จีน อินเดีย โอกาสขยายโอกาสกว้างขึ้น Weakness • ตลาดขนาดเล็ก • กฎระเบียบบางอย่าง ไม่ชัดเจนและโปร่งใส • เงินทุนสูงในการดำเนินธุรกิจ • ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก

  47. SWOTAnalysis มาเลเซีย (2) Opportunity • พยายามเปิดตลาดใหม่ แอฟริกา • นโยบายสนับสนุนการลงทุนต่างชาติ Threat • การแข่งขันสูง • มีมาตรการกีดกันทางการค้า • ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก

  48. SWOTAnalysis ฟิลิปปินส์ (1) Strength • แรงงานมีความรู้ IT ส่งผลต่อการพัฒนาส่งออก IT • มีความรู้ภาษาอังกฤษ ดึงดูดการลงทุนต่างชาติ • มีทรัพยากรธรรมชาติ • ตลาดใหญ่ Weakness • มีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบบ่อย • ฉ้อราษฎร์บังหลวงสูง • เรียกร้องค่าแรงสูง • ขาดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • สาธารณูปโภคไม่เพียงพอ • ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก

  49. SWOTAnalysis ฟิลิปปินส์ (2) Opportunity • ใช้ผลิตสินค้าสำเร็จรูป • ตลาดใหญ่ คุ้มการเจาะตลาด • ประชากรมีทุกระดับรายได้ เป็นโอกาส Threat • มีมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี และมีกฎระเบียบขั้นตอนการนำเข้ายุ่งยาก ต้องใช้เวลานาน • สาธารณูปโภคยังไม่พร้อม • ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก

  50. SWOTAnalysis สิงค์โปร์(1) Strength • นโยบายค้าเสรี ไม่มีภาษีนำเข้า • มีความมั่นคงทางการเมืองและเสถียรภาพรัฐบาล • ศูนย์กลางการเดินเรือสำคัญของโลก • ศูนย์กลางการเงินระหว่างประเทศ • ระบบบริหารและทรัพยากรบุคคล มีประสิทธิภาพ • มีความพร้อมด้าน IT Weakness • ตลาดเล็ก • ทุนการดำเนินธุรกิจสูง • พึ่งพาการนำเข้า • ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก

More Related