1 / 50

การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข

การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข. ขั้นตอนการปรับค่าตอบแทน. งานที่ต้องทำคู่ขนานระหว่างรอมติ ครม. จัดเก็บข้อมูลกำลังคน ร่างระเบียบเบิกจ่าย. ครม. เห็นชอบ หลักการ 21 ธค. 47 ตั้ง คกก. พิจารณา รายละเอียดแล้ว เสนอ ครม. อีกครั้ง ภายใน 1 เดือน. สรุปข้อเสนอต่อ ครม. อีกครั้ง.

Télécharger la présentation

การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข

  2. ขั้นตอนการปรับค่าตอบแทนขั้นตอนการปรับค่าตอบแทน • งานที่ต้องทำคู่ขนานระหว่างรอมติ ครม. • จัดเก็บข้อมูลกำลังคน • ร่างระเบียบเบิกจ่าย ครม. เห็นชอบ หลักการ 21 ธค. 47 ตั้ง คกก. พิจารณา รายละเอียดแล้ว เสนอ ครม. อีกครั้ง ภายใน 1 เดือน สรุปข้อเสนอต่อ ครม. อีกครั้ง • งานที่ต้องทำในระยะต่อไป • เตรียมข้อมูลตั้งงบฯ ปี 2549 • เตรียมปรับเกณฑ์ ของปีที่ 2 มติ ครม. 3 พค. 48 ประชุม คกก. ครั้งที่ 1 : 27 มค. 48 ครั้งที่ 2 : 8 กพ. 48 ครั้งที่ 3 : 22 กพ. 48 ครั้งที่ 4 : 4 มีค. 48 ครั้งที่ 5 : 9 มีค. 48 • คณะกรรมการตามมติ ครม. • เลขาธิการ ก.พ. ประธาน • ปลัด ก. คลัง, ป. กลาโหม • ป. มหาดไทย, สงป. • สกอ., กพร., ปลัด กทม • ดร. รุ่ง, นพ. ดำรงค์, ป. สธ. • ก.พ. /กสธ. เลขาร่วม สงป. ออกงวดเงิน ประชุมกับวิชาชีพ 16 , 28 กพ. 48 1 , 2 ,7 มีค. 48 ส่วนราชการเบิกจ่ายให้ผู้มีสิทธิ์ ย้อนหลังตั้งแต่ 1 ตค. 47

  3. ประเภทค่าตอบแทน ตามข้อพิจารณาของคณะกรรมการฯ 1. ค่าตอบแทนด้วยเหตุลักษณะงานพิเศษ เป็นค่าตอบแทนประเภทที่กำหนดขึ้นใหม่ (รวมแพทย์สาขาส่งเสริมพิเศษ ที่เดิมเคยจ่ายอยู่แล้ว) 2. ค่าตอบแทนเพื่อการปฏิบัติงานในพื้นที่เฉพาะ เป็นค่าตอบแทนเดิมใช้งบ อื่น และเพิ่มใหม่บางส่วน 3. ค่าตอบแทนกรณีไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว เป็นค่าตอบแทนเดิมที่ส่วนราชการใช้งบ อื่นอยู่แล้ว

  4. ค่าตอบแทนประเภทที่ 1 เป็นค่าตอบแทนด้วยเหตุพิเศษ ซึ่งกำหนดระเบียบให้จ่ายได้ ตาม มาตรา 33 แห่ง พรบ. ข้าราชการพลเรือน หรือ มาตราอื่น ๆ ของ พรบ. ข้าราชการแต่ละประเภท

  5. ค่าตอบแทนประเภทที่ 1 • มีการจัดกลุ่มตามลักษณะงาน ดังนี้ • แพทย์ จัดเป็น 3 กลุ่ม • ทันตแพทย์ จัดเป็น 3 กลุ่ม • เภสัชกร จัดเป็น 2 กลุ่ม • พยาบาลวิชาชีพ จัดเป็น 3 กลุ่ม • สหสาขา จัดเป็น 1 กลุ่ม

  6. 2. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานในสถานบริการพื้นที่เฉพาะ (สรุปผล) กลุ่มสถานบริการ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พ. วิชาชีพ สถานบริการระดับอำเภอพื้นที่ทั่วไป 2,200 2,200 1,900 อยู่ในสถานบริการระดับอำเภอพื้นที่ ทั่วไป หลังปฏิบัติงานในภาครัฐครบ 3 ปี 2,800 600 2,800 ขอยกเลิกข้อจำกัดเดิม ไม่เกิน 60 เตียง และแพทย์ไม่เกิน 6 คน สถานบริการระดับอำเภอ ทุรกันดาร/ขาดแคลน ระดับ 1 10,000 10,000 5,000 1,000 สถานบริการระดับอำเภอ ทุรกันดาร/ขาดแคลน ระดับ 2 20,000 20,000 10,000 2,000 สถานบริการระดับจังหวัด พื้นที่พิเศษ ปีแรก 3 จว.ภาคใต้ 10,000 5,000 10,000 1,000

  7. ความก้าวหน้า อ.ก.พ. กฎหมาย ประชุมพิจารณาร่างระเบียบฯ เมื่อ 25 สค. 48 ให้ความเห็นชอบร่างแล้ว คกก. ประชุม เมื่อ 26 สค. 48 เห็นชอบการปรับ อัตรารายเดือน (งบไม่พอ) ให้เบิกงวดเงิน และ ทำการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี อนุ กก. พื้นที่ ประชุม 8 สค. และนัด 13 กย. 48 เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ ประกาศพื้นที่

  8. ระเบียบการเบิกจ่าย • ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มพิเศษสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. .... (พ.ต.ส.) • (กำลังเสนอ ก.คลัง เห็นชอบ เสนอประธาน ก.พ.) • 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าตอบแทนเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายสำหรับผู้ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่พิเศษ พ.ศ. .... • (รอ รมว. คลัง ลงนาม)

  9. การจัดสรรงบประมาณ 2548 งบประมาณ จำนวน 2,875 ล้านบาท กสธ. ได้รับ รวม 2,244 ล้านบาท พ.ต.ส. 2,072 ล้านบาท พื้นที่ 3 จังหวัด 58 ล้านบาท ระดับอำเภอ 114 ล้านบาท สป. ได้รับ รวม 2,001 ล้านบาท พ.ต.ส. 1,832 ล้านบาท พื้นที่ 3 จังหวัด 57 ล้านบาท ระดับอำเภอ 112 ล้านบาท

  10. ปรับลดอัตรา เนื่องจากงบประมาณไม่เพียงพอ ประเภท 1 แพทย์ 4,600-9,200-13,500 บาท/เดือน ทันตแพทย์ 4,600-6,900-9,200 บาท/เดือน เภสัชกร 1,200-2,400 บาท/เดือน พยาบาลวิชาชีพ 900-1,100-1,450 บาท/เดือน สหสาขา 900 บาท/เดือน ประเภท 2 3 จว. แพทย์-ทันต-เภสัช-พยาบาล 10,000-5,000-1,000 ระดับอำเภอ แพทย์-ทันต-เภสัช 2,800-2,800-600

  11. รายละเอียดของ กลุ่มทันตแพทย์

  12. ทันตแพทย์ กลุ่ม 3 ทันตแพทย์เฉพาะทาง ที่ได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติบัตรทุกสาขา ประมาณ 10,000 บ/ด กลุ่ม 2 ทันตแพทย์ที่ได้รับปริญญาโท/เอกทางด้านทันตแพทย์และสาธารณสุข จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่น ให้การรับรอง ประมาณ 7,500 บ/ด กลุ่ม 1 ทันตแพทย์ทั่วไป ประมาณ 5,000 บ/ด

  13. กลุ่มที่ 1 ค่าตอบแทน 5,000 บาท ทันตแพทย์ทั่วไป ไม่มีวุฒิการศึกษาต่อเนื่องเพิ่มใดๆ มีวุฒิการศึกษาต่อเนื่องในระดับต่ำกว่าปริญญาโท มีวุฒิการศึกษาต่อเนื่องด้านอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง

  14. กลุ่มที่ 2 ค่าตอบแทน 7,500 บาท ระดับการศึกษา ด้านทันต/สาธารณสุข จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่นรับรอง ปริญญาโท /ปริญญาเอก

  15. สาขาทันตแพทยศาสตร์ ทันตกรรมหัตถการ ปริทันตวิทยา ทันตกรรมสำหรับเด็ก ทันตกรรมประดิษฐ์ ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล ทันตกรรมจัดฟัน วิทยาเอ็นโดดอนต์ วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก ทันตกรรมทั่วไป ทันตสาธารณสุขศาสตร์ เวชศาสตร์ช่องปาก ทันตกรรมบดเคี้ยว รังสีวิทยาของขากรรไกรและใบหน้า ชีววิทยาช่องปาก ทันตวัสดุศาสตร์ จุลชีววิทยาช่องปาก ฯลฯ สาขา การสาธารณสุข สาธารณสุขศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข การบริหารงานสาธารณสุข สาธารณสุขมูลฐาน พฤติกรรมศาสตร์ฯลฯ

  16. กลุ่มที่ 3 ค่าตอบแทน 10,000 บาท • วุฒิบัตร/หนังสืออนุมัติฯ จากทันตแพทยสภา (10 สาขา) • 1. ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิโลเฟเชียล • 2. ปริทันตวิทยา 3.ทันตกรรมสำหรับเด็ก • 4. ทันตกรรมจัดฟัน 5.ทันตกรรมประดิษฐ์ • 6. ทันตสาธารณสุข 7.วิทยาเอ็นโดดอนต์ • 8. ทันตกรรมหัตถการ 9. ทันตกรรมทั่วไป • วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก

  17. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน ทพ11 = ทันตแพทย์ทั่วไป กลุ่ม 1 ทพ21 = ทันตแพทย์ที่จบปริญญาโท/ปริญญาเอก กลุ่ม 2 ทพ31 = ทันตแพทย์ที่ได้รับวุฒิบัติ/หนังสืออนุมัติ กลุ่ม 3

  18. รายละเอียดของ กลุ่มเภสัชกร

  19. เภสัชกร • กลุ่ม 2 เภสัชกรที่ได้รับมอบหมายให้มีภารกิจหลักในการ • - เตรียมยาหรือวิเคราะห์ยาเคมีบำบัด • - งานให้คำปรึกษาแนะนำด้านยาในกลุ่ม • โรคติดต่อร้ายแรง เช่น เอดส์ วัณโรค เป็นต้น • งานคุ้มครองผู้บริโภค ที่เกี่ยวข้องกับการ • ตรวจจับและทำคดี ประมาณ 3,000 บ/ด กลุ่ม 1 เภสัชกรที่ให้ปฏิบัติงานเภสัชกรรมด้านอื่น นอกเหนือจากกลุ่ม 2 ประมาณ 1,500 บ/ด

  20. เงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่มเงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่ม • รับผิดชอบหลัก ต้องทำไม่น้อยกว่า 50% ถ้ามีระยะเวลา/ปริมาณงานไม่มาก มีได้ 1 คน • ถ้าหมุนเวียนหรือร่วมกันรับผิดชอบ ถือว่าไม่มีผู้รับผิดชอบหลัก • เตรียม/วิเคราะห์ยาเคมีบำบัด กำหนดมีได้เฉพาะ รพท./รพศ./รพ. มหาวิทยาลัย/สถาบันเฉพาะทาง

  21. เงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่มเงื่อนไขการกำหนดงานและจัดกลุ่ม • ให้คำปรึกษาด้านยาในกลุ่มโรคติดต่อร้ายแรง มีได้กับ รพ. ทุกระดับ ที่มีกิจจกรรมนี้ แต่ต้องจัดเป็นโครงการ/คลินิก/พื้นที่เฉพาะ แยกจากการจ่ายยาปกติ และกำหนดจ่ายค่าตอบแทนให้ผู้รับผิดชอบหลัก • การคุ้มครองผู้บริโภค เฉพาะที่ตรวจจับและทำคดี กำหนดให้เป็นบทบาทภารกิจหลักของเภสัชกรที่ปฏิบัติงาน สสจ. แต่ไม่ใช่ทุกคน • กรณีที่ไม่เข้าเกณฑ์ แต่มีผลงานเชิงประจักษ์ ให้เสนอเป็นกรณี ๆ

  22. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน ภก11 =เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานเภสัชกรรมทั่วไป กลุ่ม 1 ภก21กลุ่ม2 =เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานเตรียมยา/วิเคราะห์ยาเคมีบำบัด ภก22 = เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาด้านเภสัชกรรมเฉพาะ ภก23 = เภสัชกร ที่ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค เฉพาะตรวจจับ/ทำคดี

  23. รายละเอียดของ กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ

  24. พยาบาลวิชาชีพ กลุ่ม 3 งานบริการพยาบาลวิสัญญี , การพยาบาล เวชปฏิบัติ , การพยาบาล ICU CCU หรือผู้ป่วยหนัก/วิกฤต , การพยาบาลติดเชื้อรุนแรง/อันตราย การปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง และหัวหน้าทีมควบคุมคุณภาพการบริการทางการพยาบาล ประมาณ 2,000 บ/ด กลุ่ม 2 งานบริการ ER, LR, OR, IPD, งานควบคุมการติดเชื้อใน โรงพยาบาล (IC) และ งานตรวจและบำบัดพิเศษ ได้แก่ เคมีบำบัด รังสีรักษา ตรวจรักษาผ่านกล้อง/เครื่องมือพิเศษ งานกระตุ้นพัฒนาการเด็ก งานตรวจสวนหัวใจ งานไตเทียม งานบำบัดยาเสพติด ฟื้นฟูสมรรถภาพ งานให้คำปรึกษาพิเศษ (Counseling) งานตรวจรักษาขั้นต้นโดยพยาบาล ที่ได้รับอนุมัติบัตรพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป ฯลฯ ประมาณ 1,500 บ/ด กลุ่ม 1 งานบริการทางการพยาบาลในแผนก OPD, การพยาบาลครอบครัวและชุมชน , งานอนามัยชุมชน / อนามัยโรงเรียน อาชีวอนามัย ประมาณ 1,000 บ/ด หมายเหตุ : อาจารย์พยาบาลให้จัดกลุ่ม ตามการฝึกปฏิบัติและร่วมให้บริการด้านนั้น ๆ

  25. หลักการสำคัญ 1. เจตนารมณ์ คือจ่ายให้กับพยาบาลวิชาชีพที่ ปฏิบัติงานให้บริการโดยตรงแก่ผู้รับบริการ 2. การจัดคนลงกลุ่ม จัดได้ 1 คนต่อ 1 รหัสที่ตรงตาม งานหลักที่ปฏิบัติเป็นงานประจำ 3. ใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ ต้องเป็นปัจจุบัน ยังไม่หมดอายุ

  26. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว11 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน OPD สถานีอนามัย PCU หรือหน่วยอื่นๆ เทียบเดียง = พยาบาลวิชาชีพใน ER ของโรงพยาบาลที่ไม่ได้แยกทีม OPD+ER อย่างชัดเจน พว12 = พยาบาลวิชาชีพในงานการพยาบาลครอบครัวและชุมชน

  27. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว13 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานอนามัยชุมชน/อนามัยโรงเรียน/อาชีวอนามัย พว14 = อาจารย์พยาบาลที่สอนและคุมการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาในงานกลุ่ม 1 และมีชั่วโมงให้บริการในงานที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่สอนนอกเหนือจากการคุมฝึกปฏิบัติโดยเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

  28. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว21 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน ER ซึ่งรวม งาน Observe งาน Pre-hospital care * ไม่นับรวมพยาบาลที่มาทำงานล่วงเวลาเช่นปกติทำงาน OPD มาอยู่เวร part-time ER หรือ Pre-hospital care ให้จัดอยู่กลุ่ม OPD

  29. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว22 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน LR = พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานบริการคลอดในห้องคลอด พว23 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการใน OR = พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานบริการผ่าตัดในห้องผ่าตัด

  30. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว24 = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในหอผู้ป่วยทุกหอผู้ป่วย = พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในICU, CCUที่ไม่ได้ผ่านการอบรมการพยาบาลเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤตที่สภาการพยาบาลรับรอง *ถ้าพยาบาลวิชาชีพที่ทำงานในหอผู้ป่วยในที่มีผู้ป่วยICU Needed อย่างน้อย 4 รายต่อวันและผ่านการอบรมเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤตให้จัดอยู่ในรหัสพว33

  31. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว25 = พยาบาลควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล(ICN)ที่ทำงาน Hospital wide IC และผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง/อบรมระยะสั้น(ตามประกาศสภาการพยาบาล) • จำนวน ICN ในแต่ละโรงพยาบาล = 1 คน : 250 เตียง • < 250 เตียง มี ICN ได้ 1 คน • 250 เตียงขึ้นไปเมือนับทุกๆ 250 เตียง • แล้วมีเตียงเกินอีก 100 เตียงให้เพิ่ม ICN ได้อีก 1คน

  32. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว26 = พยาบาลวิชาชีพที่ทำงานในหน่วยตรวจบำบัดพิเศษที่ผ่านการอบรมเฉพาะทางที่สภาการพยาบาลให้การรับรอง / ตรงกับสาขาที่ปฏิบัติงาน (ตามประกาศสภาการพยาบาล) = พยาบาลผู้ให้บริการปรึกษา กำหนดให้มี 1 คน : 250เตียง < 250 เตียง มี ได้ 1 คน เกิน 250 เตียงขึ้นไป เมื่อนับทุก ๆ 250 เตียง แล้วมีเตียงเกินอีก 100 เตียงให้เพิ่ม ได้อีก 1คน = พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมหลักสูตรเวชปฏิบัติทั่วไป เวชปฏิบัติทางตา เวชปฏิบัติสาขาอื่นๆ ซึ่งมีระยะเวลาตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไป และปฏิบัติงานตรงตามสาขาที่ปฏิบัติ

  33. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว27 = อาจารย์พยาบาลที่สอนและคุมการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาในหน่วยงานกลุ่ม2และมีชั่วโมงให้บริการในงานที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่สอนนอกเหนือจากการคุมฝึกปฏิบัติโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

  34. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว31 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานพยาบาลวิสัญญี = วิสัญญีพยาบาลที่ผ่านการอบรมในหลักสูตรวิสัญญีพยาบาลที่มีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป และปฏิบัติงานพยาบาลวิสัญญี พว32 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานพยาบาลเวชปฏิบัติ = พยาบาลวิชาชีพที่จบการศึกษาระดับปริญญาโท ในหลักสูตรที่สภาการพยาบาลรับรองและปฏิบัติงานเป็นพยาบาลเวชปฏิบัติ

  35. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการในงานการพยาบาลใน ICU,CCU หรือหอผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤต พว33 = พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานใน ICU,CCU และผ่านการอบรมการพยาบาลเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤต (ตามประกาศสภาการพยาบาล) = พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมการพยาบาลเฉพาะทางผู้ป่วยหนัก/ผู้ป่วยวิกฤต (ตามประกาศสภาการพยาบาล)และปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย ที่มีผู้ป่วยICU Neededเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4 รายต่อวัน

  36. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว34 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อรุนแรง • เฉพาะในช่วงที่มีการรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเท่านั้น • * จำนวนพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานจริงในการดูแลผู้ป่วย อัตราส่วน พยาบาล: ผู้ป่วย =1:1 ในแต่ละเวร * โรคติดเชื้อรุนแรงเป็นไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข เช่น SARS ไข้หวัดนก ไข้กาฬหลังแอ่น

  37. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน พว35 พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง = พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับวุฒิบัตร APN จากสภาการพยาบาลและปฏิบัติงานตรงตามสาขา = พยาบาลวิชาชีพที่มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีสิทธิสมัครสอบ APN ตามประกาศสภาการพยาบาล เรื่องกำหนดการรับสมัครสอบความรู้เพื่อรับวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญเฉพาะสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ประจำปี พ.ศ. 2548 โดยมีหลักฐาน และหัวหน้าพยาบาลรับรอง

  38. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน หัวหน้าทีมควบคุมคุณภาพบริการทางการพยาบาล พว36 = จำนวนตามที่ ก.พ. และ ก. คลัง เห็นชอบ ( รพ. 1 คน : 1 แห่ง) พว37 = อาจารย์พยาบาลที่สอนและคุมการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาในหน่วยงานกลุ่ม3และมีชั่วโมงให้บริการในงานที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่สอนนอกเหนือจากการคุมฝึกปฏิบัติโดยเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

  39. รายละเอียดของ กลุ่มแพทย์

  40. แพทย์ กลุ่ม 3 แพทย์เฉพาะทางสาขาขาดแคลนสูง ประกอบด้วย สาขาพยาธิวิทยา (ทั่วไป , กายวิภาค และคลินิก) สาขานิติเวชศาสตร์ สาขาจิตเวชศาสตร์ สาขาจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น สาขาประสาทศัลยศาสตร์ สาขาศัลยศาสตร์ทรวงอก และสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา ประมาณ 15,000 บ/ด • กลุ่ม 2 แพทย์ที่ได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติ ทุกสาขานอกเหนือ กลุ่ม 3 หรือแพทย์กลุ่ม 1 ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ ได้แก่ • ได้รับปริญญาโท/เอกด้านการแพทย์/สาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กร • กลางบริหารงานบุคคลอื่น ให้การรับรอง หรือ • ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการพัฒนาระบบคุณภาพ ซึ่งเป็นระบบมาตรฐาน • และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ หรือ • ปฏิบัติงานในสถานบริการระดับอำเภอหรือศูนย์บริการระดับชุมชนอย่างต่อเนื่อง จนทำให้ • มีองค์ความรู้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม หรือบริการเฉพาะด้าน ซึ่งมีผลประเมินการ • ปฏิบัติงานในเกณฑ์ดีติดต่อกันมากกว่า 4 ปี นับการปฏิบัติงานเพิ่มพูนทักษะเป็นปีที่ 1 ประมาณ 10,000 บ/ด กลุ่ม 1 แพทย์ทั่วไป ประมาณ 5,000 บ/ด

  41. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน นพ11= แพทย์ทั่วไป กลุ่ม1 นพ21 = แพทย์ที่ได้รับวุฒิบัตร/หนังสืออนุมัติ (วว. /อว.)จากแพทยสภา นพ22 = แพทย์ที่จบ ป. โท/เอก ด้านการแพทย์/สธ. จากสถาบันที่ ก.พ. หรือองค์กรกลางบริหารงานบุคคลอื่นรับรอง นพ23 = แพทย์ที่ได้รับมอบหมายดูแลหลักระบบคุณภาพ เป็นไปตามที่ ก.พ. /คลังเห็นชอบ นพ24 = แพทย์ทั่วไป ที่ทำงานใน รพช./สถานบริการระดับอำเภอ เกินกว่า 4 ปี ผลงานดี

  42. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน นพ31=แพทย์ วว./อว.พยาธิวิทยาทั่วไป นพ32 = แพทย์ วว./อว.พยาธิวิทยากายวิภาค นพ33 = แพทย์ วว./อว.พยาธิวิทยาคลินิก นพ34 = แพทย์ วว./อว.นิติเวชศาสตร์ นพ35 = แพทย์ วว./อว.จิตเวชศาสตร์ นพ36 = แพทย์ วว./อว.จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น นพ37 = แพทย์ วว./อว.ประสาทศัลยศาสตร์ นพ38 = แพทย์ วว./อว.ศัลยศาสตร์ทรวงอก นพ39 = แพทย์ วว./อว.เวชศาสตร์ป้องกัน (แขนงระบาดวิทยา)

  43. กลุ่มสหสาขา เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด รังสีการแพทย์ แก้ไขความผิดปกติการสื่อความหมาย เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก จิตวิทยาคลินิก จำนวนมีจำกัด ไม่จัดกลุ่มในรอบปีแรก ค่าตอบแทน ประมาณ 1,000 บ./ด.

  44. รหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทนรหัสการจัดกลุ่มเบิกจ่ายค่าตอบแทน สว11 = เทคนิคการแพทย์ สว21 = กายภาพบำบัด สว31 = รังสีการแพทย์ สว41 = กิจกรรมบำบัด/อาชีวบำบัด สว51 = แก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย สว61 = เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก สว71 = จิตวิทยาคลินิค

  45. ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มพิเศษสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษฯ พ.ศ. .... (พ.ต.ส.) • กำหนดคุณสมบัติ ผู้ที่จะได้รับค่าตอบแทน • กรณีปฏิบัติงานหลายกลุ่มให้ได้รับอัตราสูงสุดอัตราเดียว • ปีใด งบประมาณไม่เพียงพอ ให้คณะกรรมการฯ ประกาศปรับลดอัตรา ไม่เกินอัตราที่กำหนดในระเบียบฯ • เดือนใดปฏิบัติงานไม่ครบเดือน ให้จ่ายตามส่วน ยกเว้นสิทธิตามวันลาประเภทต่าง ๆ : ลาป่วย ลาคลอดบุตร ลากิจส่วนตัว ลาพักผ่อน ลาอุปสมบท/พิธีฮัจย์ ตรวจเลือกทหาร ลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน วิจัย

  46. ระเบียบ ก. คลัง ว่าด้วยค่าตอบแทนเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายฯ พ.ศ. .... • ดำรงตำแหน่ง นายแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ • เป็นข้าราชการ ที่รับเงินเดือนอัตราปกติจากงบบุคลากร • ปฏิบัติงานให้บริการจริง รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู • พื้นที่พิเศษ 2 ส่วน : ส่วนที่ 1 สถานบริการระดับจังหวัดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนที่ 2 : ทำงานใน รพช. หรือสถานบริการระดับอำเภอ (อยู่ภาครัฐติดต่อกันเกิน 3 ปี) • ต้องปฏิบัติงานเป็นการประจำ และมีวันทำการ ไม่น้อยกว่า 15 วันทำการ/เดือน • มีคณะอนุกรรมการฯ กำหนดหลักเกณฑ์การกำหนดพื้นที่พิเศษ และประกาศรายชื่อโรงพยาบาลและสถานบริการในพื้นที่พิเศษ

  47. สิ่งที่ต้องดำเนินการ • ขั้นตอนการเบิกงบประมาณ ปี 2548 • กระทรวง ขอเบิกของกระทรวง แยกรายกรม • ใบงวดออกเป็นรายกรม แต่ละกรมทำขอกันเงินไว้ • เบิกเหลื่อมปี • การตั้งงบประมาณปี 2549 สป. ขอตั้ง 3,954 ลบ. • ได้รับอนุมัติเพียง 1,085 ลบ. ขอแปรญัตติไม่ได้ • การเตรียมปรับเกณฑ์ปี 2549 กำลังศึกษา เพื่อเสนอ • ทางเลือกการปรับหลักเกณฑ์

  48. แนวทางการเบิกจ่าย • ให้มี คกก. ระดับกระทรวง ระดับกรม และต่ำกว่ากรม • ให้ผู้ขอรับค่าตอบแทน ยื่นแบบขอรับค่าตอบแทน ตาม • สายการบังคับบัญชา และได้รับการอนุมัติจากผ็มี • อำนาจ จึงจะมีสิทธิได้รับ กรณี Rotate งาน ต้องยื่น • แบบใหม่ทุกครั้ง • ต้องมีหลักฐานประกอบการขอยื่นแบบขอรับ • ค่าตอบแทน เช่น สำเนาใบประกอบวิชาชีพ วุฒิบัตร • หลักฐานการฝึกอบรม หรือปริญญา ตามแต่กรณี

  49. แนวทางการเบิกจ่าย • เมื่อได้รับแบบขอรับค่าตอบแทนที่ได้รับการอนุมัติจากผู้มี • อำนาจแล้ว ให้ผู้รับผิดชอบสรุปจำนวนคน ตามแบบ • แนบท้าย เพื่อสรุปยอดงบประมาณที่ต้องใช้ สำหรับ • ค่าตอบแทน พ.ต.ส. โดยคำนวณตามจำนวนเดือน เช่น • จำนวนเดือนที่ทำงานจริง กรณีลาต่าง ๆ ตามสิทธิ และ • ค่าตอบแทนสำหรับพื้นที่พิเศษ คำนวณตามจำนวนคน • และอัตรารายเดือน • ให้เสนอขอรับการจัดสรรไปยังกองคลัง แบ่งเป็น 2 งวด • (6 เดือน) ครั้งแรก ภายใน .............. • ครั้งที่ 2 ภายใน ..............

  50. สุดท้าย .... ขอให้อดทน เพราะ งานหนักมาก และจะถูกเร่งรัดมาก

More Related