210 likes | 414 Vues
กลยุทย์การวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน. 26 เมษายน 2555 ดร.ปาน กิมปี. การใช้ทฤษฎีหรือแนวคิดเป็นกรอบความคิด การวิจัยเพื่ออะไร. ก. เป็นแนวทางในการเก็บข้อมูล ข. ป้องกันผลการวิจัยผิดพลาด ค. ใช้ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ง. ใช้ในการกำหนดประชากรที่ศึกษา จ. เป็นแนวทางในการอภิปรายข้อค้นพบ.
E N D
กลยุทย์การวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนกลยุทย์การวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 26เมษายน 2555 ดร.ปาน กิมปี
การใช้ทฤษฎีหรือแนวคิดเป็นกรอบความคิดการวิจัยเพื่ออะไรการใช้ทฤษฎีหรือแนวคิดเป็นกรอบความคิดการวิจัยเพื่ออะไร • ก. เป็นแนวทางในการเก็บข้อมูล • ข. ป้องกันผลการวิจัยผิดพลาด • ค. ใช้ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง • ง. ใช้ในการกำหนดประชากรที่ศึกษา • จ. เป็นแนวทางในการอภิปรายข้อค้นพบ
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง • ก. ผู้วิจัยเป็นผู้บริโภคผลการวิจัย • ข. ผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้กำหนดปัญหารการวิจัย • ค. การวิจัยในชั้นเรียนมีพื้นที่(field)การวิจัยในขอบเขตชั้นเรียน • ง. การวิจัยปฏิบัติการไม่จำเป็นต้องดำเนินการให้ครบวงรอบการวิจัย • จ. การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนสามารถศึกษาผู้เรียน ๒-๓ คนได้
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ(Action Research) • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ : การวิจัยที่ดำเนินการโดยผู้ปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดกิจกรรม กศน.ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากขึ้น การดำเนินการวิจัยเป็นไปอย่างต่อเนื่องเป็นวงจร ประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบัติ การสังเกตผลการปฏิบัติ และการสะท้อนผลการปฏิบัติ ผลการวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาได้ทันที เป็นการวิจัยที่ดำเนินการควบคู่ไปกับการปฏิบัติงาน
กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ • ๑. การวางแผน(Planning) • ๒. การปฏิบัติ(Action) • ๓. การสังเกตผลการปฏิบัติ(Observation) • ๔. การสะท้อนผลการปฏบัติ (Reflection) กระบวนการวิจัยมีลักษณะเป็นเกลียวสว่านหรือวงรอบที่ประกอบด้วย P-A-O-R
การวัจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม(ParticipatoryAction Research : PAR) พัฒนาจากแนวคิดการมีส่วนร่วมเชื่อมโยงกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการวิจัย
จุดเน้นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วรร่วมจุดเน้นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วรร่วม • ๑. เน้นการศึกษาชุมชน • ๒. เน้นการหาแนวทางในการแก้ปัญหา • ๓. เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดเลือกโครงการ • ๔. เน้นให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ปัญหาทุกขั้นตอน
การวิจัยและพัฒนา การวิจัยและพัฒนา (Research and Development ) หมายถึง กระบวนการใช้ประโยชน์นจากการค้นคว้าวิจัย อย่างเป็นระบบเพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรม ด้านผลผลิต กระบวนการ ระบบการทำงานหรือบริการ เพื่อประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน
ลักษณะสำคัญของการวิจัยและพัฒนาลักษณะสำคัญของการวิจัยและพัฒนา • ๑. มีลักษณะเป็นวงจร • ๒. ระดับงานวิจัยที่สร้างสรรค์นวัตกรรม • ๓. งานวิจัยระดับการปรับปรุงและพัฒนา • ๔. มีเกณ์การประเมินผลงานวิจัยและพัฒนาที่ชัดเจน
กระบวนการวิจัยและพัฒนากระบวนการวิจัยและพัฒนา ๑. อาศัยวงจรการพัฒนางานคุณภาพของ Edwards Deming PDCA ๒. ใช้กระบวนการADDIE A:Analysis D:Design D:Develop I: Implement E: Evaluation
การวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้การวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การบริหารความเสี่ยงขงกลุ่มพัฒนาอาชีพ กุลธิดา รัตนโกศล
รายงานการวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้การบริหารความเสี่ยงของกลุ่มพัฒนาอาชีพรายงานการวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้การบริหารความเสี่ยงของกลุ่มพัฒนาอาชีพ วัตถุประสงค์การวิจัย ๑. เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้การบริหารความเสี่ยง ที่เหมาะสมกับกลุ่มพัฒนาอาชีพ ๒. เพื่อนำกระบวนการจัดการเรียนรู้การบริหาความเสี่ยงไปทดลองใช้ กับกลุ่มพัฒนาอาชีพ ๓. เพื่อประเมินคุณภาพกระบวนการจัดการเรียนรู้การบริหารความเสี่ยง ของกลุ่มพัฒนาอาชีพ
ระเบียบวิธวิจัย • การวิจัยและพัฒนา (Research and Development )
ขั้นตอนการวิจัย ๑. การออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้การบริหารความ ของกลุ่มพัฒนาอาชีพ ๒. การศึกษาความเป็นไปได้ (ประชุมปฏิบัติการ) ๓. การทดลองใช้และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ (วงจร P-D-C-A) ๔. การประเมินคุณภาพ (ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน ประเมินผลการจัดกิจกรรมดโยใช้ การสนทนากลุ่ม)
ขั้นตอนการวิจัย(ต่อ) ๕. การเผยแพร่และขยายผล
การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน. แบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้แผนพัฒนาชุมชนเป็นฐาน กรณีศึดษา:บ้านหินดาษ สุธ๊ วรประดิษฐ์
วัตถูประสงค์การวิจัย ๑. เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.แบบมีส่วน ร่วมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนโดยใช้แผนพัฒนาชุมชน เป็นฐานกรณีศึกษา : บ้านหินดาษ ๒. เพื่อศึกษาผลการนำ...................ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ๓. เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้แผนพัฒนาชุมชนบ้านหินดาษ........
ระเบียบวิธีวิจัย • การวิจัยปฏิบัติการ (Action Research)
วิธีการศึกษา • ๑. การศึกษาชุมชน • ๒. swot • ๓. ประชุมแบบซินดิเกต • ๔. เทคนิค AIC • ๕. การสัมมนา • ๖. ประชุมปฏิบัติการ
วิธีก้าวจากจุดที่คุณยืนอยู่ ข้ามไปสู่จุดที่คุณต้องการ • ทุกอย่างที่เราเจอในวันนี้ คือ ผลลัพธ์ของสิ่งที่เลือกทำในอดีต • เราสร้างทุกอย่างขึ้นมาเอง หรือปล่อยให้ทุกอย่างเกิดขึ้นกับเรา • เราไม่อาจเปลี่ยนแปลงสถานกาณ์ ฤดูกาล หรือลมฟ้าอากาศ แต่เราสามารถเปลี่ยนตัวเองได้