1 / 131

ประเด็นการชี้แจง

ประเด็นการชี้แจง. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2555 นโยบาย ผบ.ตร. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ บช. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ บก. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ สภ/สน.

Télécharger la présentation

ประเด็นการชี้แจง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นการชี้แจง วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2555 นโยบาย ผบ.ตร. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ บช. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ บก. - แนวทางการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ ระดับ สภ/สน. คำรับรองการปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปี พ.ศ.2556 - กรอบการประเมินผล

  2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

  3. บุคลากรได้รับการถ่ายทอดชี้แจง นโยบาย /แผนปฏิบัติราชการ ตร. ประจำปี พ.ศ.2556 / ผลการปฏิบัติที่ผ่านมา 2. พูดคุย แลกเปลี่ยน เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะ ให้กับบุคลากรผู้เกี่ยวข้อง 3. เป็นแนวทางให้ บช.หรือ บก. ได้กำหนดกิจกรรมชี้แจงแผนงาน โครงการ กิจกรรม ค่าเป้าหมาย ในการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยให้บรรลุผลสำเร็จ

  4. เป้าหมาย ระดับหน่วยงาน 30 บช. และ 6 บก.ในสังกัด สง.ผบ.ตร. 2) ระดับบุคคล - บุคลากรระดับบริหารของฝ่ายอำนวยการที่รับผิดชอบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ - หัวหน้าสถานีตำรวจ และผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง

  5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • มีการนำนโยบาย ผบ.ตร. แผนปฏิบัติราชการ ตร. ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม • บรรลุเป้าหมายตามผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 • ตร./หน่วยงานรอง มีการพัฒนาองค์กรที่สอดคล้อง เชื่อมโยง ตามกรอบยุทธศาสตร์

  6. ผลการปฏิบัติราชการประจำปีฯ พ.ศ.2555

  7. * ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ผลคะแนนที่ได้เป็นการประเมินตนเอง

  8. สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง)

  9. สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง)

  10. สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง)

  11. สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง)

  12. สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (ประเมินตนเอง)

  13. ตัวชี้วัดที่ 4.1 ร้อยละความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1)

  14. ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละของความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 2)

  15. ตัวชี้วัดที่ 4.4 ระดับความรู้สึกการมีส่วนร่วม ของอาสาสมัครตำรวจชุมชน ในการรับผิดชอบต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในชุมชนที่พักอาศัย (ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 3)

  16. ข้อเสนอแนะจากการวิจัยข้อเสนอแนะจากการวิจัย • ความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชน และความเชื่อมั่นของประชาชน ต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ ความคิดเห็นด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม 1. เพิ่มความถี่ในการออกตรวจ โดยเฉพาะในช่วงเวลากลางคืน 2. ปฏิบัติงานเชิงรุก เน้นการหาข่าวเกี่ยวกับ ยาเสพติดให้โทษ การประกอบอาชญากรรมต่างๆ โดยมีเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน 3.ความรวดเร็วในการระงับเหตุ หรือป้องกันเหตุ หลังจากได้รับแจ้งเหตุหรือรับแจ้งข่าว • ออกปฏิบัติการเพื่อพบปะเยี่ยมเยียนผู้นำชุมชนและประชาชนในพื้นที่ • ปฏิบัติการร่วมในป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม อาทิ ร่วมมือกับภาคประชาชนตรวจ จับกุมผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดอย่างเข้มงวด 6. สร้างความจริงใจและความตั้งใจในการปฏิบัติงาน • ปรับปรุงระบบ หรือวิธีการตรวจอย่างสม่ำเสมอ หมั่นตรวจสอบความเรียบร้อย

  17. ความคิดเห็นด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม (ต่อ) • จับกุมผู้กระทำความผิด ต้องมีข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ชัดเจน แม่นยำ ป้องกันข้อผิดพลาด • เน้นการควบคุมพื้นที่แพร่ระบาดของยาเสพติด แหล่งมั่วสุมการพนัน เพิ่มสายตรวจให้ครอบคลุม • ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับสารเสพติดในชุมชน • แนะนำแนวทางหรือวิธีการป้องกันอาชญากรรมให้แก่ประชาชน 12. ตรวจสอบการฝึกเตรียมความพร้อมสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ 13. ปรับปรุงและพัฒนาจริยธรรม เพื่อลดการเอาเปรียบประชาชน และปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ส่วนร่วม

  18. ความคิดเห็นด้านการให้บริการบนสถานีตำรวจความคิดเห็นด้านการให้บริการบนสถานีตำรวจ • ให้บริการประชาชน และผู้เสียหายด้วยความสุภาพ เรียบร้อย เป็นมิตร และเอาใจใส่ • ใกล้ชิด รับฟังความคิดเห็น ตรงต่อเวลากับประชาชน ผู้รับบริการ และผู้เสียหาย 3. ชี้แจงขั้นตอนการเข้ารับบริการ การดำเนินคดีแก่ประชาชน ผู้เสียหาย และผู้กระทำความผิด 4. บริการด้วยความโปร่งใส และไม่เอาเปรียบประชาชน 5. เอาใจใส่ในการให้บริการ 6. เป็นกลาง เสมอภาค และเท่าเทียมกัน เป็นหลักในการดำเนินการและการปฏิบัติหน้าที่ 7. อบรมเสริมสร้างความรู้ แก่พนักงานสอบสวนให้มีความเชี่ยวชาญ มีประสิทธิภาพเป็นที่น่าเชื่อถือ

  19. ความคิดเห็นของอาสาสมัครตำรวจชุมชนความคิดเห็นของอาสาสมัครตำรวจชุมชน • เพิ่มสวัสดิการแก่เจ้าหน้าที่ตำรวจ และอาสาสมัครตำรวจชุมชน • เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร และเผยแพร่ข่าวสาร ให้มากยิ่งขึ้นเช่น การนำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ 3. ออกตรวจร่วมกับชุมชนอย่างจริงจัง • ให้ความรู้แก่ประชาชน ถึงภัยร้ายต่างๆ 5. ประสานงานให้มากกว่าเดิม ประสานงานตำรวจได้รับการตอบรับช้า 6. ปราบปรามผู้ค้ายารายย่อยให้เด็ดขาด รวมทั้งปัญหาการแข่งรถ/จยย ในทางสาธารณะ (เด็กแว้น) 7. สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการด้านตำรวจชุมชน

  20. ความคิดเห็นของอาสาสมัครตำรวจชุมชน (ต่อ) • จัดเครื่องแบบอาสาสมัครตำรวจ 10. มีกิจกรรมเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความใกล้ชิด 11. มีระบบและโครงสร้างการบริหารจัดการ ที่ชัดเจนมากกว่าที่เป็นอยู่ 12. แจ้งเหตุ เจ้าหน้าที่มาช้า อยากให้ปฏิบัติหน้าที่ให้เต็มที่กว่านี้ อาสาสมัครตำรวจชุมชนไม่สามารถระวังเหตุเองได้ 13. เพิ่มอาสาสมัครตำรวจชุมชน สำหรับการตั้งด่านตรวจ ดูแลวัยรุ่นมั่วสุมยาเสพติด ให้ ตำรวจที่รับผิดชอบคดียาเสพติด จับแล้วอย่าปล่อย 14. สนับสนุนสวัสดิการในการออกตรวจเพื่อจะได้เป็นขวัญกำลังใจ 15. ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบมาอยู่ในชุมชน เพื่อความสนิทสนมเป็นกันเอง เมื่อมี ปัญหาจะได้แจ้งความหรือแจ้งเหตุกับตำรวจได้ทันที 16. ให้อาสาสมัครตำรวจชุมชนมีส่วนร่วมมากขึ้น เช่น การเสนอแนะให้ข้อมูลด้าน อาชญากรรม มีผู้บังคับบัญชามาเยี่ยมเยียนให้กำลังใจ 17. มีโครงการต่อเนื่อง มี/ไม่มีค่าตอบแทนก็ยินดีช่วยเหลือ เป็นจิตอาสาชุมชน

  21. พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว นโยบาย ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

  22. เป็นตำรวจที่ปกป้อง เทิดทูนและ จงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 2. เป็นตำรวจมืออาชีพ ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล และพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เจตนารมณ์ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ 3. เป็นตำรวจที่ประชาชนเชื่อมั่น ศรัทธา และเป็นที่พึ่งได้อย่างแท้จริง

  23. นโยบายเน้นหนัก (11 ข้อ) • ปกป้อง เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างเข้มข้น ทั้งผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้จำหน่าย รายใหญ่และรายย่อยในชุมชน ยึดทรัพย์กับผู้เกี่ยวข้องทุกรายยึดหลักกฎหมายและหลักนิติธรรม 3. แก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยุติเหตุร้ายรายวันและความรุนแรงด้วยมาตรการเชิงรุกเพื่อ จำกัดเสรีการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม

  24. นโยบายเน้นหนัก (ต่อ) 4.ควบคุมและลดความรุนแรงของอาชญากรรม ประชาชนมั่นใจต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ จัดระเบียบ สังคมและควบคุมอบายมุขผิดกฎหมายในพื้นที่ 5.พัฒนาสถานีตำรวจ ให้พร้อมบริการและเป็นที่พึ่งของประชาชนอย่างแท้จริง 6. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชนและท้องถิ่นมีความเป็นเจ้าของ และมีส่วนร่วมในทุกมิติ

  25. นโยบายเน้นหนัก (ต่อ) 7. พัฒนาบุคลากรทุกสายงานให้มีความพร้อม ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ ซื่อสัตย์ สุจริต ยึดมั่นในศีลธรรม มี ค่านิยมเรียบง่าย ประหยัด 8. เตรียมความพร้อมรองรับอาเซียน 9. พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.) ทุกระดับ เพื่อเป็นเครื่องมือของผู้บังคับบัญชา ในการขับเคลื่อน ติดตามการ ปฏิบัติและบูรณาการในทุกมิติ โดยนำเทคโนโลยีมาใช้

  26. นโยบายเน้นหนัก (ต่อ) 10. เน้นภาวะผู้นำในทุกระดับ ผู้บังคับบัญชาเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ทำงานเป็นทีมและมีเอกภาพ 11. จัดระบบและดำเนินการด้านสวัสดิการ ให้แก่ข้าราชการตำรวจ ครอบครัว และข้าราชการตำรวจ ที่เกษียณอายุราชการแล้ว ให้มีสุขภาพพลานามัย มีความเป็นอยู่ที่ดี ประกอบอาชีพเสริม ดำเนินชีวิต อย่างเรียบง่าย สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”

  27. นโยบายทั่วไป (9 ข้อ) 1.ปกป้อง เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 3. การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม 4. การแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 5. ด้านความมั่นคง

  28. นโยบายทั่วไป (ต่อ) 6. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 7. การอำนวยความยุติธรรม 8. การให้บริการและช่วยเหลือประชาชน 9. การบริหารจัดการที่ดี 9.1 ด้านบุคลากร 9.2 ด้านระบบ 9.3 ด้านสถานที่ 9.4 ด้านสวัสดิการ

  29. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. สร้างเอกภาพทางความคิดของผู้นำหน่วยทุกระดับ คิดและมอง ไปในทิศทางเดียวกัน 2. พัฒนาบุคลากรในทุกระดับเพื่อให้เป็นตำรวจมืออาชีพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และเป็นที่พึ่งของประชาชน ปลุกเร้า สอนแนะของผู้บังคับบัญชา 3. นำเทคโนโลยี องค์ความรู้ใหม่มาสร้างเครื่องมือและกลไกในการบริหารงาน เน้นการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (ศปก.) ในการขับเคลื่อนบูรณาการและประสานกับทุกองค์กร

  30. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (ต่อ) 4. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องเพื่อใช้ในการพิจารณาความดีความชอบโดยยึดหลักผู้ปฏิบัติงานดีต้องได้รับผลตอบแทนและผู้ปฏิบัติงานหย่อนยานต้องถูกพิจารณาข้อบกพร่อง 5. ผู้บังคับบัญชาต้องพร้อมรับผิดชอบต่อความสำเร็จ ความล้มเหลว เป็นแบบอย่างที่ดีและอยู่เคียงข้างกับผู้ใต้บังคับบัญชา

  31. การขับเคลื่อนนโยบาย ของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ ระดับ กองบัญชาการ ของ บช.น./ภ.1-9/ศชต.

  32. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  33. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  34. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  35. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  36. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  37. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  38. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  39. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  40. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  41. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  42. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  43. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  44. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  45. การขับเคลื่อนนโยบายของผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติ • ของ บช.น./ภ.๑-๙/ศชต. นโยบายเน้นหนัก 11 ข้อ

  46. แนวทางการตรวจติดตามผลการดำเนินการในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติระดับ กองบัญชาการ ของ บช.น. /ภ.1-9 /ศชต.

  47. 1.ที่ตั้ง บช./ภ. ศูนย์ฝึกอบรม และอาคารบ้านพัก - ความสะอาด ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ภายในและนอกอาคารสถานที่/อาคารบ้านพัก 2. ข้าราชการตำรวจ - การแต่งกาย เครื่องแบบ เครื่องหมาย อาวุธประจำการ - บุคลิกลักษณะ ทรงผม หนวดเครา ความสะอาด ท่วงทีวาจา 3. ระเบียบวินัยและการปกครองบังคับบัญชา

  48. 4. การฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการตำรวจ • การฝึกอบรมข้าราชการตำรวจทุกระดับ • แผนการสัมมนาระดับ ผบก./การฝึกทบทวน • การปฏิบัติแต่ละสายงาน • การเตรียมกำลังหน่วยปฏิบัติการพิเศษ และกองร้อยควบคุมฝูงชน

  49. 5. ศปก.บช./ภ. • การจัดกำลังประจำ ศปก.บช./ภ. • ห้องปฏิบัติการ ระบบสื่อสาร การควบคุม สั่งการ และการเชื่อมโยงกับเครือข่ายกับ ตร. บก./ภ.จว. และ สน./สภ. • การประชุมติดตามสถานการณ์ทุกวัน • ระบบฐานข้อมูลทางการบริหาร • ระบบศูนย์ข้อมูลอาชญากรรมพิเศษ

More Related