1 / 13

โครงการศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

แนวทางการดำเนินงานปี 2550 & เป้าหมายการดำเนินงานปี 2551. โครงการศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน. โดย ว่าที่ ร.ต.สมพูนทรัพย์ กล้าวิกรณ์. ผู้อำนวยการสำนักช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

Télécharger la présentation

โครงการศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานปี 2550& เป้าหมายการดำเนินงานปี 2551 โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน โดย ว่าที่ ร.ต.สมพูนทรัพย์ กล้าวิกรณ์ ผู้อำนวยการสำนักช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจนสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.)

  2. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) หลักการ ศูนย์เรียนรู้ถาวร/เลี้ยงตัวเองได้ ฝึกปฏิบัติ/เพิ่มทักษะในอาชีพเกษตร ก่อเกิดรายได้ บริหารจัดการในรูปคณะทำงานฯ สร้างเครือข่ายศูนย์เรียนรู้

  3. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) วัตถุประสงค์ เป็นศูนย์เรียนรู้สำหรับเกษตรกรทั่วไป เกษตรกรได้ความรู้ด้านการผลิตเพื่อเลี้ยงชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับเกษตรกรยากจน

  4. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) แนวทางการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนปี 2550

  5. ภาคการเรียนรู้ 720 แห่ง/43,500 คน ศูนย์เครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้าน ศูนย์เรียนรู้ ศูนย์ศึกษาพัฒนาฯ พระราชดำริ 74 แห่ง/7,400 คน 40 แห่ง/20,000 คน 600 แห่ง/14,000 คน 6 แห่ง/2,100 คน เกษตรกรเป้าหมาย43,500 คน ภาคการปฏิบัติ ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 1 7,000 คน รายใหม่ เกษตรทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 2 2,000 คน รายเก่า ทฤษฎีใหม่ ขั้นที่ 3 1,000 คน 10,000 คน เกษตรกรยากจนเกษตรกรทั่วไปเกษตรกรทฤษฎีใหม่ * เกษตรกรผ่านปราชญ์ชาวบ้าน

  6. ตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด คัดเลือกเกษตรกร ปฏิบัติจริง หัวหน้าส่วนราชการปราชญ์ชาวบ้าน จัดตั้งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติเพิ่มเติม(ศูนย์เรียนรู้)/เฉพาะด้าน(ศูนย์เครือข่าย) คัดเลือกศูนย์เรียนรู้/ศูนย์เครือข่าย อบรม ติดตาม/รายงาน

  7. กิจกรรมในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน (ศูนย์หลัก)เพิ่มทักษะทางการเกษตรเรียนรู้ในลักษณะนำทำนำพา กิจกรรมในศูนย์เครือข่ายภาครัฐ/เกษตรกรประสบความสำเร็จเพิ่มทักษะทางการเกษตรอาชีพเสริมเพิ่มเติมรายได้/ลดรายจ่าย (น้ำยาล้างจาน, สบู่, แชมพู เป็นต้น) กิจกรรมในศูนย์ศึกษาพัฒนาฯตามแนวพระราชดำริยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเน้นการศึกษาดูแปลง กิจกรรมในศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเน้นการศึกษาดูแปลงเพิ่มทักษะทางการเกษตร

  8. กิจกรรมการใช้จ่ายงบประมาณโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนปี 2550

  9. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) ขั้นตอนการดำเนินงาน

  10. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) ขั้นตอนที่ 2 (คัดเลือกเกษตรกรและศูนย์หลัก/ศูนย์เครือข่าย) คัดเลือกเกษตรกร หมายเหตุ เกษตรกรต้องมีที่ดินทำกินจะเป็นพื้นที่ของตนเอง หรือเช่าทำกินก็ได้ เกษตรกรที่ยากจน ตาม สย. 1 เกษตรกรที่ทำทฤษฎีใหม่ - เกษตรกรรายเก่าที่ทำอยู่แล้ว - เกษตรกรรายใหม่ที่สนใจจะทำทฤษฎีใหม่ เกษตรกรที่มีปัญหาหนี้สิน เกษตรกรทั่วไป

  11. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) ขั้นตอนที่ 2 (ต่อ)(คัดเลือกเกษตรกรและศูนย์หลัก/ศูนย์เครือข่าย) คัดเลือกศูนย์หลัก/ศูนย์เครือข่าย (ของรัฐ) มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรได้อย่างเพียงพอ มีขนาดพื้นที่แปลงเรียนรู้ไม่น้อยกว่า 5 ไร่ ที่ตั้งแปลงเรียนรู้อยู่ใกล้ชุมชน มีการบริหารจัดการภายในศูนย์ มีการดำเนินการกิจกรรมการเกษตรไม่น้อยกว่า 2 ด้าน มีอาคาร/ศาลา/เพิง ถ่ายทอดความรู้ ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการถ่ายทอดความรู้หลักสูตรปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่เกษตรกร ดำเนินงานโดยมีส่วนร่วมจากเจ้าหน้าที่ภาครัฐไม่น้อยกว่า 3 หน่วยงาน

  12. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) ขั้นตอนที่ 3-4(จัดเกษตรกรและการเข้าสู่ภาคเรียนรู้) 14,000 คน  ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 600 แห่ง 7,400 คน  ศูนย์เครือข่าย 74 แห่ง 2,100 คน  ศูนย์ศึกษาฯ พระราชดำริ 6 แห่ง 20,000 คน  ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้าน 40 แห่ง

  13. ศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ศจพ.กษ.) ขั้นตอนที่ 5(จัดทำคำของบประมาณ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาคัดเลือกศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แจ้งผลการคัดเลือกศูนย์ฯ ให้จังหวัดทราบ จังหวัดจัดทำคำของบประมาณเสนอกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาคำของบประมาณ และจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดในภาพรวม

More Related