1 / 16

โดย นางพรทิพย์ อุ้ยตา ผู้อำนวยการสำนักบริหารกองทุน วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. โดย นางพรทิพย์ อุ้ยตา ผู้อำนวยการสำนักบริหารกองทุน วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. มาตรา ๔. - การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

tanuja
Télécharger la présentation

โดย นางพรทิพย์ อุ้ยตา ผู้อำนวยการสำนักบริหารกองทุน วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดย นางพรทิพย์ อุ้ยตา ผู้อำนวยการสำนักบริหารกองทุน วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

  2. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม มาตรา ๔ - การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - การจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยรัฐนำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐ จัดซื้อ หรือเวนคืนจากเจ้าของที่ดิน ซึ่งมิได้ทำประโยชน์ในที่ดินนั้นด้วยตัวเองหรือมีที่ดินเกินสิทธิ ตามพระราชบัญญัตินี้ - จัดให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ดินของตนเองหรือเกษตรกรที่มีที่ดินเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันเกษตรกรได้ เช่าซื้อ เช่าหรือเข้าทำประโยชน์ -รัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม การปรับปรุงทรัพยากร และปัจจัยการผลิตตลอดจนการผลิตและการจำหน่ายให้เกิดผลดียิ่งขึ้น

  3. กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ความเป็นมา พ.ร.บ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.๒๕๑๘ มาตรา ๑๐ เงินจากงบประมาณแผ่นดิน เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่ได้รับ จากรัฐบาลหรือจากแหล่งต่าง ๆ เงินที่ได้รับจากกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร เงินดอกผลหรือผลประโยชน์ใดๆ ที่ได้รับจากการปฏิรูปที่ดิน มาตรา ๙ ให้จัดตั้งกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ในกระทรวงการคลัง ประกอบด้วย เงินและทรัพย์สินตามมาตรา 10 เป็นทุนหมุนเวียนและใช้จ่ายเพื่อการปฏิรูปที่ดิน รายได้จากการปฏิรูปที่ดิน ให้นำส่งเข้าบัญชี กองทุนฯ โดยไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้ แผ่นดิน การใช้จ่ายกระทำได้เฉพาะการปฏิรูปที่ดิน ตามระเบียบที่กำหนด

  4. กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม จัดหาและบริหารเงินกองทุน สนับสนุนงานปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม วิสัยทัศน์ • ๑. จัดหาเงินทุน • ๒. สนับสนุนเงินทุนเพื่อการกระจายสิทธิในที่ดิน • ๓. สนับสนุนเงินทุนด้านการพัฒนา เพื่อการแก้ไขปัญหา • ๔. สนับสนุนเงินทุนเพื่อพัฒนารายได้และอาชีพ • เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร • ๕. บริหารเงินทุนหมุนเวียนให้มีสภาพคล่อง • และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด พันธกิจ

  5. กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม • ๑. เกษตรกรมีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง • ๒. ที่ดินของเกษตรกรมีมูลค่า สามารถนำมา • แปลงเป็นทุนได้ • ๓. เกษตรกรสามารถช่วยเหลือพึ่งพาตนเองได้ • มีความเป็นอยู่ดีขึ้น มีการพัฒนาไปสู่การรวมกลุ่ม • ๔. กองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ เป็นแหล่งเงินทุน • หมุนเวียน และใช้จ่ายเพื่อการปฏิรูปที่ดิน • ที่มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์

  6. โครงสร้าง คปก. มาตรา ๑๒ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน เลขาธิการ ส.ป.ก. เป็นกรรมการและเลขานุการ ม.๑๙(๔) พิจารณาอนุมัติแผนงานและโครงการฯ ตลอดจนงบค่าใช้จ่าย ม.๑๙(๙) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการว่าด้วยการให้ เกษตรกร และสถาบันเกษตรกรกู้ยืมจาก ส.ป.ก. ตลอดจนเงื่อนไขการกู้ยืมฯ ม.๑๙(๑๐) กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการจัดการ ทรัพย์สิน และหนี้สินของเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร อำนาจหน้าที่ คปก. ม.๑๙ กำหนดนโยบาย มาตรการ ข้อบังคับ ระเบียบ ควบคุม การบริหารงาน ส.ป.ก.

  7. โครงสร้าง คปก. • คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ประธาน กรรมการ - ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ - ผู้จัดการ ธกส. - ประธานคณะกรรมการกลาง กลุ่มเกษตรกร - ประธานชุมนุมสหกรณ์การเกษตร ปลัดกระทรวงและอธิบดี ที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ (จำนวน 4 กระทรวง 16 กรม) ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้แทนเกษตรกร เป็นกรรมการ (จำนวน 9 ท่าน) แต่งตั้งโดย รมว.กษ. เลขาธิการ ส.ป.ก. เป็นกรรมการและเลขานุการ

  8. โครงสร้าง อกก.คง. มาตรา ๒๑ คณะอนุกรรมการโครงการและการเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (อกก.คง.) เลขาธิการ ส.ป.ก. เป็นประธาน ผอ.สบท. เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ ผอ.กลุ่มแผนฯ เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ พิจารณาโครงการ และกลั่นกรองรายละเอียด ค่าใช้จ่ายของโครงการที่นำเสนอ คปก. ตามที่ได้รับมอบอำนาจจาก คปก. และระเบียบที่ คปก.กำหนด อำนาจหน้าที่

  9. โครงสร้าง อกก.คง. • อนุกรรมการโครงการ • และการเงินกองทุน • การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม • (อกก.คง.) • อำนาจการแต่งตั้งโดย คปก. • ตามมาตรา 21 • พ.ร.บ. การปฏิรูปที่ดิน • เพื่อเกษตรกรรม • เลขาธิการ ส.ป.ก. เป็นประธาน • ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • เป็นอนุกรรมการ • (จำนวน 11 ท่าน) • รองเลขาธิการ ส.ป.ก. • ผู้รับผิดชอบ • เป็นรองประธาน • ผู้อำนวยการสำนักบริหารกองทุน • เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ • เจ้าหน้าที่สำนักบริหารกองทุน • เป็นอนุกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ

  10. แผนที่ยุทธศาสตร์(Strategy Map)กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ วิสัยทัศน์(Vision) เป้าประสงค์ (Goal) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategy) • ๑. เกษตรกรมีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง • ๒. ที่ดินของเกษตรกรมีมูลค่า สามารถนำมา • แปลงเป็นทุนได้ • ๓. เกษตรกรสามารถช่วยเหลือพึ่งพาตนเองได้ • มีความเป็นอยู่ดีขึ้น มีการพัฒนาไปสู่ • การรวมกลุ่ม • ๔. กองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ เป็นแหล่งเงินทุน • หมุนเวียน และใช้จ่ายเพื่อการปฏิรูปที่ดิน • ที่มีประสิทธิภาพ จัดหาและบริหารเงินกองทุน สนับสนุนงานปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม • ยุทธศาสตร์ที่ ๑ • : การจัดที่ดินและการคุ้มครองพื้นที่ • เกษตรกรรม พันธกิจ (Mission) ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การพัฒนาอาชีพ ปรับปรุง ทรัพยากร และปัจจัยการผลิต • ๑. จัดหาเงินทุน • ๒. สนับสนุนเงินทุนเพื่อการกระจายสิทธิ • ในที่ดิน • ๓. สนับสนุนเงินทุนด้านการพัฒนา • เพื่อการแก้ไขปัญหา • ๔. สนับสนุนเงินทุนเพื่อพัฒนารายได้และ • อาชีพเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร • ๕. บริหารเงินทุนหมุนเวียนให้มีสภาพคล่อง • และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด • ยุทธศาสตร์ที่ ๓ • : การเพิ่มรายได้ทุนหมุนเวียน • ยุทธศาสตร์ที่๔ • : การพัฒนาระบบบริหารจัดการ • กองทุน ๗

  11. แผนงาน • ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ • - แผนจัดซื้อที่ดินและ/เวนคืนที่ดิน /เวนคืน กลยุทธ์ ๑ : การสนับสนุนเงินทุนเพื่อการ จัดซื้อที่ดินและ/เวนคืนที่ดิน • ยุทธศาสตร์ที่ ๑ • : การจัดที่ดินและการคุ้มครอง • พื้นที่เกษตรกรรม • - แผนสินเชื่อค่าชดเชยและ/เวนคืนที่ดิน • กลยุทธ์ ๒ : การสนับสนุนสินเชื่อค่าชดเชยและ/ • เวนคืนที่ดินเพื่อการคุ้มครองพื้นที่ • เกษตรกรรม (เกษตรกร • - บูรณาการ การให้สินเชื่อเพื่อการพัฒนาอาชีพ • และรายได้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ยุทธศาสตร์ที่ ๒ • : การพัฒนาอาชีพ ปรับปรุง • ทรัพยากรและปัจจัยการผลิต • - แผนการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ เพื่อการพัฒนา กลยุทธ์ ๑ : การสนับสนุนเงินทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ และปัจจัยการผลิต • - แผนสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดินค้างจัด • - แผนสนับสนุนการโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน • - แผนสนับสนุนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน กรณีกิจกรรมอื่นๆ • - แผนจัดเก็บรายได้และผลประโยชน์ • - ศึกษา กำหนดแนวทาง/กิจกรรม เพื่อการใช้ประโยชน์ • ในที่ดินรูปแบบต่าง ๆ • - ปรับปรุงหลักเกณฑ์การคำนวณอัตราค่าเช่า ค่าเช่าซื้อ • ค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ในที่ดิน • กลยุทธ์ ๒ : สนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนา • ยุทธศาสตร์ที่ ๓ • : การเพิ่มรายได้ทุนหมุนเวียน กลยุทธ์ ๑ : การจัดหารายได้จากทรัพย์สินกองทุน ประเภทที่ดินเอกชน • - ศึกษา กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระ • - โครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระ • - โครงการเปลี่ยนสัญญาเช่าเป็นเช่าซื้อ กลยุทธ์ ๒ :การแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระ ๘

  12. แผนงาน • ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ • ยุทธศาสตร์ที่ ๓ • : การเพิ่มรายได้ทุนหมุนเวียน • - ศึกษา กำหนดแนวทางการเพิ่มมูลค่าที่ดินรัฐ • - โครงการเพิ่มมูลค่าที่ดินรัฐ • กลยุทธ์ ๓ : การจัดหารายได้จากทรัพย์สิน • กองทุน ประเภทที่ดินรัฐ กลยุทธ์ ๔ : การนำงบประมาณเข้ากองทุน • - ศึกษา กำหนดแนวทางการนำเงินงบประมาณเข้ากองทุน • ยุทธศาสตร์ที่๔ • : การพัฒนาระบบบริหาร • จัดการกองทุน กลยุทธ์ ๑ : การปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติตามภารกิจ • - ปรับปรุง ระเบียบ วิธีปฏิบัติ หลักเกณฑ์ต่างๆ • และคู่มือในการปฏิบัติงาน • - การติดตามประเมินผลการบริหารทุนหมุนเวียน • - แผนงานควบคุม กำกับ ดูแลและแก้ไขปัญหา • - แผนอบรมพัฒนาบุคลากร กลยุทธ์ ๒ : การปรับปรุงงานด้านการบริการ • - เพิ่มช่องทางการชำระหนี้ • - พัฒนาระบบ IT เพื่อการบริหารและจัดการลูกหนี้ • และทรัพย์สินกองทุน ๙

  13. โครงสร้างสำนักบริหารกองทุนโครงสร้างสำนักบริหารกองทุน สำนักบริหารกองทุน ๘ กลุ่ม ๑ ฝ่าย ฝ่ายบริหารทั่วไป ๑. ศึกษาและวิเคราะห์เพื่อกำหนดนโยบายและแผนกลยุทธ์ของกองทุน แผนปฏิบัติการตลอดจนระเบียบ กฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับกองทุน ๒. ศึกษาและวิเคราะห์โครงการ รวมทั้งให้บริการด้านสินเชื่อเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เพื่อพัฒนารายได้ รวมทั้งติดตามประเมินผล ๓. บริหารเงินกองทุน สินทรัพย์ ระบบบัญชี ตรวจสอบและติดตามเงินกองทุน เพื่อสนับสนุนเงินทุนแก่เกษตรกรให้มีประสิทธิภาพ ๔. ศึกษา ค้นคว้า และวิจัย เพื่อพัฒนางานกองทุน ๕. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย กลุ่มแผนงานและพัฒนากองทุน กลุ่มบริหารการเงินและบัญชีกองทุน กลุ่มตรวจสอบบัญชีกองทุน กลุ่มระบบลูกหนี้และทรัพย์สินกองทุน กลุ่มกองทุนภาคเหนือ / ตวอ.เฉียงเหนือ / กลาง / ใต้

  14. สำนักบริหารกองทุน นโยบายผู้บริหาร • สนับสนุนการจัดซื้อที่ดิน ตามระเบียบการจัดซื้อที่ดินเพื่อจัดให้เกษตรกรผู้ไร้ที่ดินทำกิน • การบริการด้านสินเชื่อเพื่อการพัฒนาอาชีพให้แก่เกษตรกร • และสถาบันเกษตรกร • สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพพื้นที่และเพิ่มศักยภาพพื้นที่ • และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ที่ดิน ตามระเบียบ คปก.ว่าด้วยการจัดทำโครงการที่ใช้เงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม • ปรับปรุงโครงสร้างสำนักบริหารกองทุน จากกลุ่มภาค • ไปสู่กิจกรรม

  15. สำนักบริหารกองทุน สนับสนุน สินเชื่อเพื่อ พัฒนาอาชีพ สนับสนุน การจัดซื้อที่ดิน ภารกิจกองทุน กู้ยืมเพื่อประกอบเกษตรกรรม และกู้ยืมเพื่อเป็นค่าชดเชย จัดที่ดินให้เกษตรกร เข้าทำประโยชน์ โดยการเช่า / เช่าซื้อ สนับสนุน การพัฒนาศักยภาพพื้นฐานทางการเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน และเพิ่มมูลค่าของที่ดิน

  16. สำนักบริหารกองทุน ขอขอบคุณ

More Related