1 / 45

Access to health services and How much households pay for illness prior to death

I. HPP. Thailand. Access to health services and How much households pay for illness prior to death. Journal Club 8 Feb. 08. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยการสนับสนุนจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. Outline. ความเป็นมา

Télécharger la présentation

Access to health services and How much households pay for illness prior to death

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. I HPP Thailand Access to health services and How much households pay for illness prior to death Journal Club 8 Feb. 08 สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยการสนับสนุนจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  2. Outline • ความเป็นมา • การสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร พ.ศ. 2548 – 2549 (7th Survey of Population Change) • การสำรวจการเข้าถึงบริการสาธารณสุขและรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือนสำหรับผู้ป่วยที่เสียชีวิตพ.ศ. 2548 - 2549 • ผลการศึกษา • ข้อมูลทั่วไป (อัตราตาย๗ • การใช้บริการ และ ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน • ภาวะล้มละลาย • สรุป

  3. ความเป็นมา • สหรัฐอเมริกา • ประชากรอายุ >65 ปี มีรายจ่ายด้านสุขภาพ >1/3 ของรายจ่ายทั้งหมด • ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยก่อนเสียชีวิต ... ผู้ป่วยโครงการ Medicare ที่เสียชีวิต (ร้อยละ 5 ของผู้ได้รับสิทธิ์) มีค่าใช้จ่ายร้อยละ 27-31 ของรายจ่ายทั้งหมดของโครงการในแต่ละปี • รายจ่ายของ Medicare ปี 1976 และ ปี 1998 1 ปีสุดท้าย 3,488 26,300 USD/prs. 1 เดือนสุดท้าย 5,4007,400 USD/prs. • ประเทศไทย การสำรวจสวัสดิการอนามัยและสังคมไม่ครอบคลุมผู้เสียชีวิต

  4. ค่ารักษาในโรงพยาบาลของผู้ป่วยก่อนเสียชีวิตค่ารักษาในโรงพยาบาลของผู้ป่วยก่อนเสียชีวิต Ref: Seshamani M, Gray A. Aging and health-care expenditure: the red herring argument revisited. Health Econ 2004; 13: 303-14

  5. วัตถุประสงค์ • ศึกษากรณีผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยในก่อนเสียชีวิต ดังนี้ • การเข้าถึงบริการสาธารณสุข • แบบแผนการใช้บริการสาธารณสุข • ภาระค่าใช้จ่ายในการใช้บริการสาธารณสุข • ภาระค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งค่าใช้จ่ายของผู้ที่ไปดูแลในระหว่างการรักษา เพื่อ... เป็นแนวทางในการจัดระบบบริการสาธารณสุขให้เป็นประโยชน์กับประชาชนสูงสุด

  6. การสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากรสำนักงานสถิติแห่งชาติการสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากรสำนักงานสถิติแห่งชาติ • เป็นการสำรวจการเกิด ตาย ย้ายถิ่น • ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ stratified two-stage sampling มี กรุงเทพ และ ภาค เป็น stratum • ชุมรุมอาคาร และ หมู่บ้าน เป็น sub-stratum ที่หนึ่ง • ครัวเรือนส่วนบุคคลและ สมาชิกในครัวเรือนพิเศษ เป็น sub-stratum ที่สอง ได้ ... • จำนวนชุมรุมอาคาร/หมู่บ้าน 2,050 ตัวอย่าง • จำนวนครัวเรือน 82,000 ตัวอย่าง • สอบถามทุกคนในครัวเรือน ทุก ๆ 3 เดือนใน 1 ปี (ต.ค. 2548 – ส.ค. 2549)

  7. การสำรวจการเข้าถึงบริการสาธารณสุขและรายจ่ายฯโดย IHPP ด้วยพนักงานสถิติ • เป็นการอ้างอิงกับการสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร • กรณีตาย: อายุ สถานที่ตาย สาเหตุการตาย • เมื่อพบว่ามีผู้ตายในครัวเรือนใด จะสอบถามผู้ดูแลใกล้ชิดผู้ป่วยก่อนตาย ในประเด็นต่าง ๆ ที่สำคัญคือ • จำนวนครั้งและค่าใช้จ่ายของครัวเรือนกรณีการรักษาแบบผู้ป่วยนอกในระยะเวลา 3 เดือนสุดท้ายก่อนตาย • จำนวนครั้งและค่าใช้จ่ายของครัวเรือนกรณีการรักษาแบบผู้ป่วยใน ระยะเวลา 6 เดือนสุดท้ายก่อนตาย • ค่าใช้จ่ายประเภทต่าง ๆ เช่น ค่าเดินทาง ค่าที่พัก ค่ายาและวัสดุการแพทย์ที่ครัวเรือนต้องจ่ายเพิ่มเติมในการรักษาครั้งสุดท้ายทั้งสองกรณีการรักษา

  8. ครัวเรือนตัวอย่าง 82,000 ครัวเรือน จำนวนประมาณการประชากร จำนวนตัวอย่าง สอบถามสมาชิกครัวเรือน เกิด ตาย ย้ายถิ่น การศึกษา อาชีพ รายได้ การคุมกำเนิด สถานที่ตาย สาเหตุการตาย ทรัพย์สินของครัวเรือน 327,735 คน 64,675,145 คน มีสมาชิกในครัวเรือนตาย 2,200 คน 387,970 คน สอบถามผู้ดูแลใกล้ชิด สวัสดิการรักษาฯแบบแผนการใช้บริการ ค่าใช้จ่าย - OP 3 เดือนก่อนตาย - IP 6 เดือนก่อนตาย 2,173 คน 382,933 คน จำนวนตัวอย่าง และประมาณการประชากร

  9. ผลการศึกษา

  10. เศรษฐานะของประชากร

  11. การจัดแบ่งเศรษฐานะของประชากรการจัดแบ่งเศรษฐานะของประชากร • รายได้ครัวเรือน/คน/เดือน Adjusted by:(no. of adult + 0.5 no. of child)0.75 • ทรัพย์สินของครัวเรือน • ปรับข้อถามเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เป็น ข้อมูลลักษณะเดียวกัน • Principal Component Analysis ลดจำนวนตัวแปร (35 ตัวแปร เป็น 21 ตัวแปร)

  12. การจัดกลุ่มเศรษฐานะ

  13. สวัสดิการและเศรษฐานะของผู้ตายสวัสดิการและเศรษฐานะของผู้ตาย

  14. ข้อมูลทั่วไป

  15. อัตราตาย (ต่อประชากร 1,000 คน) จำแนกตามเศรษฐานะและเขตการปกครอง

  16. อัตราตาย (ต่อประชากร 1,000 คน) จำแนกตามเศรษฐานะและภาค

  17. อัตราตาย (ต่อประชากร 1,000 คน) จำแนกตามเศรษฐานะและเพศ

  18. อัตราตาย (ต่อประชากร 1,000 คน) จำแนกตามเศรษฐานะและกลุ่มอายุ

  19. อัตราตาย (ต่อประชากร 1,000 คน) จำแนกตามกลุ่มเศรษฐานะและตำแหน่งในครัวเรือน

  20. ร้อยละของคนตายจำแนกตามกลุ่มอายุและสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล

  21. ร้อยละของจำนวนคนตายจำแนกตามกลุ่มโรคและสิทธิสวัสดิการร้อยละของจำนวนคนตายจำแนกตามกลุ่มโรคและสิทธิสวัสดิการ

  22. ร้อยละของคนตาย จำแนกตามสถานที่ตาย และกลุ่มโรค/ลักษณะการตาย

  23. ข้อมูลรายจ่ายด้านสุขภาพข้อมูลรายจ่ายด้านสุขภาพ

  24. การประมาณค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยในระยะเวลาที่ผู้ป่วยใกล้จะเสียชีวิตการประมาณค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยในระยะเวลาที่ผู้ป่วยใกล้จะเสียชีวิต 48.9% 70.3%

  25. การรักษาแบบผู้ป่วยนอก(3 เดือนสุดท้าย)

  26. จำนวนครั้งเฉลี่ยของการรักษาแบบผู้ป่วยนอกจำแนกตามสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลจำนวนครั้งเฉลี่ยของการรักษาแบบผู้ป่วยนอกจำแนกตามสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล

  27. ร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยนอกและค่าใช้จ่ายร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยนอกและค่าใช้จ่าย

  28. ร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยนอกจำแนกตามกลุ่มโรคร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยนอกจำแนกตามกลุ่มโรค

  29. การรักษาแบบผู้ป่วยใน(6 เดือนสุดท้าย)

  30. จำนวนครั้งเฉลี่ยของการรักษาแบบผู้ป่วยในจำแนกตามสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลจำนวนครั้งเฉลี่ยของการรักษาแบบผู้ป่วยในจำแนกตามสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล

  31. ร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยในและค่าใช้จ่ายร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยในและค่าใช้จ่าย

  32. ร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยในจำแนกตามกลุ่มโรคร้อยละของผู้ป่วยที่รักษาแบบผู้ป่วยในจำแนกตามกลุ่มโรค

  33. การรักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายครั้งสุดท้ายการเข้าถึงบริการภาวะล้มละลายของครัวเรือนการรักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายครั้งสุดท้ายการเข้าถึงบริการภาวะล้มละลายของครัวเรือน

  34. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ สำหรับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกและสัดส่วนจำแนกตามสวัสดิการรักษาพยาบาล

  35. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ สำหรับการรักษาแบบผู้ป่วยในและสัดส่วนจำแนกตามสวัสดิการรักษาพยาบาล

  36. สาเหตุที่ไม่เข้ารักษาในโรงพยาบาลสาเหตุที่ไม่เข้ารักษาในโรงพยาบาล

  37. จำนวนและร้อยละของผู้ป่วย จำแนกตามสถานะการล้มละลายของครัวเรือน และกลุ่มโรค/ลักษณะการตาย

  38. ร้อยละของผู้ป่วยที่จัดอยู่ในครัวเรือนล้มละลาย จำแนกตามกลุ่มเศรษฐานะ และสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล

  39. สรุป

  40. อัตราตายทั่วราชอาณาจักรคือ 6.76 ต่อพันคน อัตราตายของประชากรไทยลดลงอย่างช้า ๆเมื่อเปรียบเทียบกับ 10 และ 20 ปีที่แล้ว • ผู้ชายตายมากกว่าผู้หญิง (ร้อยละ 55.2 และ ร้อยละ 44.8) • ผู้สูงอายุ (อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป) เป็นกลุ่มที่ตายมากที่สุด (ร้อยละ 62.9 ของผู้ตายทั้งหมด) • ผู้ตายในครัวเรือนที่ยากจนที่สุด และยากจน (ควินไทล์ที่ 1 และ 2) ตายมากกว่าครัวเรือนทีีมีรายได้สูงกว่า • ผู้อาศัยในภาคเหนือตายมากกว่าภาคอื่น ๆ (อัตราตาย 9.2 ต่อพันคน) • กลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับหนึ่ง (ร้อยละ 51.4 ของการตายทั้งหมด) ซึ่งส่วนใหญ่คือ โรคมะเร็ง และ โรคหัวใจและหลอดเลือด • คนไทยในภาคเหนือตายด้วยโรคติดต่อสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น ๆ (ร้อยละ 35)

  41. คนภาคกลางตายด้วยอุบัติเหตุสูงกว่าคนที่อยู่ในภาคอื่น ๆ (ร้อยละ 30.7) • ครึ่งหนึ่งของผู้ตายทั้งหมดจะตายที่บ้าน รองลงมาคือ โรงพยาบาลของรัฐ • สองในสามของผู้ป่วยกลุ่มโรคติดต่อตายในโรงพยาบาล • ผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อจะตายที่บ้านและโรงพยาบาลด้วยสัดส่วนเท่า ๆ กัน • ผู้ตายด้วยอุบัติเหตุจะตายในโรงพยาบาลประมาณร้อยละ 35 และอีกร้อยละ 25 ตายระหว่างทาง • ผู้ป่วยชราภาพเกือบร้อยละ 90 ตายที่บ้าน

  42. การรักษาแบบผู้ป่วยนอกการรักษาแบบผู้ป่วยนอก • เกือบร้อยละ 60 มีการใช้บริการสาธารณสุขก่อนตาย โดย 2/3 ต้องจ่ายค่ารักษาประมาณ 5,630.8 – 5,786.8 บาท (มัธยฐาน 1,000 บาท) • ค่าเดินทางครั้งละ 130 – 1,532 บาท ขึ้นกับประเภทการรักษาพยาบาล (ร้อยละ 31 – 86 ของค่าใช้จ่ายที่ครัวเรือนจ่าย) • ค่ารักษาคิดเป็นสัดส่วน 5 – 15ยกเว้นค่ารักษาที่สถานบริการนอกสถานพยาบาล และโรงพยาบาลเอกชนซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 62 – 66 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด • การรักษาแบบผู้ป่วยใน • เกือบร้อยละ 60 มีการใช้บริการสาธารณสุขก่อนตาย โดย ร้อยละ 42 ต้องจ่ายค่ารักษาประมาณ 36,277.3 – 38,004.1 บาท (มัธยฐาน 2,030.0 บาท) • ค่าเดินทางคิดเป็นร้อยละ 73 – 100 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด ยกเว้นการรักษาที่โรงพยาบาลเอกชนซึ่งมีค่าัเดินทางคิดเป็นร้อยละ 5 ในขณะที่ค่ารักษาเป็นร้อยละ 89 ของทั้งหมด และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 4 – 11 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด • ผู้ป่วยมีวันนอนครั้งสุดท้ายเฉลี่ย 10 วัน (โรงพยาบาลชุมชน) – 15 วัน (โรงพยาบาลเอกชน)

  43. เหตุผลที่ผู้ป่วยไม่ได้รักษาแบบผู้ป่วยในก่อนเสียชีวิตคือ • ตายฉุกเฉินร้อยละ 61 • ผู้ป่วยร้อยละ 15 ไม่ต้องการรักษาในสถานพยาบาล • ผู้ป่วยร้อยละ 14 ป่วยด้วยโรคระยะสุดท้ายต้องการตายที่บ้าน • ผู้ป่วยร้อยละ 0.4 ที่ไม่เงินมากพอสำหรับการรักษาแบบผู้่ป่วยใน • มีครัวเรือนของผู้ป่วยจำนวน 111,391 คน (ร้อยละ 29.2) จัดว่าเป็นครัวเรือนที่จะอยู่ในภาวะล้มละลาย • ครัวเรือนฐานะยากจนมากที่สุด (ร้อยละ 64) • ครัวเรือนที่ผู้ป่วยมีสวัสดิการประกันสุขภาพ (ยกเว้น 30 บาท) ร้อยละ 52

  44. รายนามผู้วิจัย ภญ.ชุติมา อรรคลีพันธุ์* น.พ.วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร* น.พ.ภูษิต ประคองสาย* นางจิตปราณี วาศวิท* น.ส.อรศรี ฮินท่าไม้** นางอาทิตยา เทียมไพรวัลย์* *สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ **สำนักงานสถิติแห่งชาติ

More Related