1 / 93

ชีวโมเลกุล

ชีวโมเลกุล. ชีวโมเลกุล. คือ โมเลกุลที่มีความสำคัญต่อชีวิต ได้แก่ น้ำ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และกรดนิวคลีอิค. 1. น้ำ (H 2 O). น้ำเป็นชีวโมเลกุลที่เป็นสารประกอบอนินทรีย์. น้ำเป็นชีวโมเลกุลที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวแตกต่างจากสารอื่น ๆ (Unique properties). คุณสมบัติเฉพาะตัวนี้เกิดจาก.

tate
Télécharger la présentation

ชีวโมเลกุล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชีวโมเลกุล

  2. ชีวโมเลกุล คือ โมเลกุลที่มีความสำคัญต่อชีวิต ได้แก่ น้ำ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และกรดนิวคลีอิค 1. น้ำ (H2O) น้ำเป็นชีวโมเลกุลที่เป็นสารประกอบอนินทรีย์ น้ำเป็นชีวโมเลกุลที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวแตกต่างจากสารอื่น ๆ (Unique properties) คุณสมบัติเฉพาะตัวนี้เกิดจาก 1) การมีขั้ว (Polarity) 2) การมีพันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)

  3. Unique Properties of Water 1. น้ำมีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง 2. น้ำมีค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอสูงกว่าสารอื่น 3. น้ำมีค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (การละลาย) สูง 4. น้ำมีค่าความร้อนจำเพาะสูง (1 คาลอรี/กรัม/1 องศาเซลเซียส) 5. น้ำมีปริมาตรเพิ่มขึ้นเมื่อแข็งตัว จึงมีความหนาแน่นน้อยลง 6. น้ำเป็นตัวทำละลายที่ดี (universal solvent)

  4. Unique Properties of Water 7. น้ำมีแรงตึงผิวสูง (High surface tension) 8. การดูดรับแสง 9. น้ำแตกตัวเป็นอิออนให้ H+ และ OH- 10.น้ำมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน (adhesive force) และระหว่างน้ำด้วยกัน (cohesive force)

  5. A B H2O : polarity+H-bond ไฮโดรเจนแต่ละอะตอมจะใช้ อิเล็กตรอน 1 คู่ร่วมกับอะตอมออกซิเจนเกิดเป็น covalent bond อะตอมทั้ง 3 ที่รวมกันเป็น H2O ไม่ได้เรียงกันเป็นเส้นตรง แต่ไฮโดรเจน 2 อะตอมจะสร้างพันธะเป็นมุม 105 องศา นิวเคลียสของออกซิเจนมีประจุบวกจึงสามารถดึง อิเล็กตรอน จากไฮโดรเจนมาใกล้มากกว่า ผลคือในโมเลกุลน้ำมีการกระจายของประจุไฟฟ้าแยกกัน ด้าน H มีประจุเป็น + ส่วนทางด้าน O มีประจุเป็น - ทำให้เกิดการมีขั้ว

  6. โมเลกุล น้ำหนักโมเลกุล จุดหลอมเหลว(๐ซ) จุดเดือด CH4 16 -184 -161 NH3 17 -78 -33 H2O 18 0 +100 HF 20 -92 +19 ตารางที่ 1 จุดหลอมเหลวและจุดเดือด ของสารบางชนิด

  7. ชนิดสาร ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (คาลอรี่/กรัม) เอธิลอัลกอฮอล์ 204 ออกซิเจน 51 น้ำ 540 เมธานอล 263 อะซิโตน 125 แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 313 ตารางที่ 2 ค่าของความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (heat of vaporization, calg-1) ของสารบางชนิด

  8. ตารางที่ 3 ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (heat of fusion, calg-1) ของสารบางชนิด ชนิดสาร ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว เอธิลอัลกอฮอล์ 25.0 ออกซิเจน 3.3 น้ำ 80.0 เมธานอล 22 อะซิโตน 20 แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 84

  9. ตารางที่ 4 ความร้อนจำเพาะของสารบางชนิด ชนิดสาร ความร้อนจำเพาะ (calg-1.C-1) น้ำ 1.0 น้ำแข็ง 0.50 ไอน้ำ 0.48 เอธิลอัลกอฮอล์ 0.58 ไม้ 0.42 แก้ว 0.20 เหล็กกล้า 0.11

  10. Cooling Effect น้ำมีค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอสูงกว่าสารอื่น (539 คาลอรี่/กรัม) น้ำช่วยลดความร้อนในพืชด้วยการคายน้ำ เพราะจะมีการดึงความร้อนจากผิวใบ 539 คาลอรี่/น้ำ 1 กรัมที่ระเหย ทำให้อุณหภูมิของต้นพืชคงที่ได้และทำให้เรารู้สึกเย็นลงเมื่อมีเหงื่อออกมากในวันที่อากาศร้อนและแห้ง

  11. น้ำมีค่าความร้อนจำเพาะสูง (1 คาลอรี/กรัม/1 องศาเซลเซียส) น้ำ 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ต้องใช้พลังงานความร้อน 1 คาลอรี่ ซึ่งนับว่าใช้พลังงานสูงกว่าน้ำมัน 2 เท่า สูงกว่าเหล็ก 9 เท่า น้ำจึงช่วยให้อุณหภูมิของพืชเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ช้า ใบที่ขาดน้ำ จะดูดความร้อนไว้มากใบจึงไหม้

  12. H2O : High surface tension น้ำมีแรงตึงผิวสูง (High surface tension) การมีพันธะไฮโดรเจน ทำให้น้ำมีแรงตึงผิว การที่จิ้งโจ้น้ำและแมลงอื่น ๆ เดินบนผิวน้ำได้เพราะน้ำหนักตัวของแมลงถูกพยุงโดยผิวหน้าของน้ำที่ต่อเนื่องกันเป็นแผ่นเดียวและการมีแรงตึงผิวสูงทำให้หยดน้ำจับตัวกันเป็นหยดกลม

  13. น้ำแตกตัวเป็นอิออนให้ H+ และ OH- • การมี Polarity ทำให้น้ำแตกตัวเป็นอิออนได้ ซึ่งมีผลต่อค่า pH • H2O H+ + OH-

  14. โครงสร้างของน้ำในสภาพของเหลว (liquid water) มีโมเลกุลของน้ำที่ไม่ สร้างพันธะไฮโดรเจน (non-hydrogen bonded molecule) แทรกตัวอยู่ระหว่าง โมเลกุลของน้ำที่สร้างพันธะไฮโดรเจน (hydrogen bonded molecules)

  15. Hydrogen bond การเรียงตัวของโมเลกุลของน้ำ ในสถานะน้ำแข็ง จะอยู่ในลักษณะ ที่เป็นรูปผลึกที่คงตัวไม่เปลี่ยนแปลง และจะสร้างพันธะไฮโดรเจนกับน้ำ อีก 4 โมเลกุล ICE

  16. Sodium ion Water molecules Chloride ion H2O : Universal solvent น้ำเป็นตัวทำละลายที่ดีสำหรับ electrolyte เพราะน้ำมี polarity ขั้วด้าน + ของน้ำ ยึดเหนี่ยวกับอิออน - ขั้วด้าน - ของน้ำ ยึดเหนี่ยวของอิออน +

  17. H2O : Cohesion

  18. น้ำมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน (adhesive force)และระหว่างน้ำด้วยกัน (cohesive force) เนื่องจากน้ำมี Hydrogen-bond และ Polarity ทำให้น้ำสามารถยึดเหนี่ยวกับสารอื่น ๆ ได้ ทำให้สารนั้นเปียกได้ เช่น เซลลูโลส แป้ง โปรตีน อนุภาคดินเหนียว แก้ว และ Hydrogen-bond ทำให้น้ำมีแรงยึดเหนี่ยวกับน้ำด้วยกัน ประโยชน์ : ทำให้น้ำเคลื่อนผ่านช่องว่างเล็ก ๆ ในดิน หรือ ในผนังเซลล์ ซึ่งมีลักษณะเป็น capillary ได้ จึงช่วยในการลำเลียงน้ำจากดินเข้าสู่รากผ่านท่อลำเลียงซึ่งมีขนาดเล็กและแคบไปสู่ยอดสูงๆได้

  19. คาร์โบไฮเดรต

  20. คาร์โบไฮเดรต เป็นสารประกอบอินทรีย์ (organic compound) เพราะประกอบด้วย C,H,O สูตรโครงสร้างทั่วไป = CnH2mOm เช่น น้ำตาล, แป้ง, เซลลูโลส คาร์โบไฮเดรต แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ตามจำนวนของ C ดังนี้ 1. น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (Monosaccharides,monos) 2. น้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharides) 3. น้ำตาลเชิงซ้อน (polysaccharides,

  21. เนื่องจากในโทโนแซคคาไรด์ เป็นอนุพันธ์ของอัลดีไฮด์ หรือ คีโตน ดังนั้น จึงแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ monosaccharides แบ่งเป็น 2 กลุ่ม  ถ้ามี aldehyde group ( - C=0 ) เป็นพันธะคู่ ที่ปลาย chain เรียกว่า น้ำตาล aldose (ตัวอย่างเช่น ribose, xylose, arabinose)  ถ้ามี ketone group( C=0 ) เป็นพันธะคู่ภายใน chain เรียกว่าน้ำตาล ketose เช่น

  22. Carbohydrate Aldoses

  23. Ketoses

  24. ตัวอย่างของน้ำตาล aldose เช่น น้ำตาล triose, pentose , galactose โดยเฉพาะ glucose เป็นน้ำตางอัลโดส ที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ

  25. ตัวอย่างของน้ำตาล ketose เช่น น้ำตาล riburose, fructose โดยเฉพาะ fructose เป็นน้ำตาล คีโตส ที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ

  26. สูตรโครงสร้างของน้ำตาล fructose

  27. เมื่อ glucose ละลายน้ำอาจจัดตัวเป็นเส้นตรง หรือวงแหวน (ring form) ซึ่งเปลี่ยนไปมาได้ทั้ง 2 แบบ ถ้า -OH ที่จับกับ C1 อยู่ใต้ระนาบของ ring เรียกว่า อยู่ในตำแหน่ง อัลฟา (เช่น ulfa- glucose) -ถ้า OH อยู่เหนือระนาบของ ring เรียกว่าอยู่ในตำแหน่ง เบตา (เช่น bata-Glucose)

  28. ปฏิกิริยา dehydration -synthesis และHydrolysis ในการสังเคราะห์ disaccharides จะมีการสูญเสีย H2O ออกมา 1 โมเลกุล เพื่อจะสร้างพันธะใหม่ระหว่าง manosaccharides 2 โมเลกุล เรียกปฏิกิริยานี้ว่า dehydration -synthesis หรือ condensation Polymer monomer Dehydration synthesis ( condensation)

  29. ปฏิกิริยาการย่อย disaccharides เป็นหน่วยย่อยนั้น เกิดขึ้นเมื่อต้องการใช้ disaccharides เป็นพลังงาน จะมีการเพิ่ม H2O เข้าไปใหม่ กระบวนการนี้เรียกว่าhydrolysis Hydrolysis

  30. Condensation

  31. starch : ประกอบด้วย glucose 600-6000 โมเลกุล เป็นอาหารสะสมในพืช เช่น ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ถั่วเขียว ถั่วเหลือง มัน เผือก แป้งพบได้ใน 2 รูป amylose(straight chain of glucose) amylopectin (branched chain of glucose)

  32. Amylose ประกอบด้วยกลูโคส ต่อกันเป็นสายยาว ด้วยพันธะ อัลฟา (1-4)

  33. Amylopectin อะไมโลสเป็นลูกโช่ของกลูโคสซึ่งต่อกันด้วยพันธะ อัลฟา (1-4) เช่นกัน แต่จะมีแขนงแยกออกไป ทุก 25-30 หน่วยกลูโคส ตรงจุดที่เกิดแขนงกลูโคสจะ ต่อกันด้วยพันธะ อัลฟา (1-6)

  34. Glycogen Starch glycogen : ประกอบด้วย glucose 6000-30000 โมเลกุล การมีโครงสร้างที่เป็น branched structure ทำให้ถูกย่อยได้ง่าย เมื่อร่างกายต้องการ glucose คนและสัตว์เก็บสำรองคาร์โบไฮเดรตในรูปของ glycogen ในตับและกล้ามเนื้อเพื่อเป็นแหล่งพลังงาน

  35. โครงสร้างของไกลโคเจน มีลักษณะคล้ายกับ อะไมโลเพคติน คือมีแขนง แต่แขนงของไกลโคเจนจะมี มากกว่าคือ บนโช่ของกลูโคส ซึ่งต่อกันด้วยพันธะ อัลฟา(1-4) ทุกๆ 8-10 หน่วยจะมีการแตกแขนง Amylopectin Glycogen

  36. Cellulose ประกอบด้วย Beta-glucose 300-3000 โมเลกุล พบใน cell wall (ผนังเซลล์) ของพืช ร่างกายเราย่อยไม่ได้เพราะขาดเอนไซม์ย่อย Beta glucoex lintage พวกสัตว์กินหญ้า ย่อย cellulose ในพืชได้ เพราะมี bacteria ในกระเพาะช่วยย่อย

  37. ประโยชน์ของคาร์โบไฮด์เดรตประโยชน์ของคาร์โบไฮด์เดรต 1. ให้พลังงาน 4 แคลอรี/กรัม 2. สงวนคุณค่าโปรตีน 3. กำจัดสารพิษ 4. เป็นองค์ประกอบของ nucleic acid 5. ช่วยในการขับถ่าย

  38. ไขมัน (Fat Molecule)

  39. Fat Molecules เป็นสารอินทรีย์ที่ไม่ละลายน้ำแต่ละลายใน nonpolar organic solvent เช่น ether, benzene, chloroform, acetone ประกอบด้วย C, H, O เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรตแต่ไขมันต่างจากคาร์โบไฮเดรต ตรงที่มี 0 น้อยกว่าทำให้มี polar –OH group น้อยลงจึงไม่ละลายในน้ำ และมี N, P เพิ่มขึ้นมา (C, H, O, N, P)

  40. ไขมันแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ลิปิดธรรมดา (Neutral Lipid) phospholipids Steroids ลิปิดธรรมดา (Neutral Lipid)ประกอบด้วย Glycerol (1 โมเลกุล) + fatty acid (1,2 หรือ 3 โมเลกุล) เป็น fatty acid ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันก็ได้ ยึดกันด้วย covalent bond แต่ละ bond เกิดโดย dehydration synthesis

  41. Saturated & Unsaturated Fatty Acid Fatty Acid : ที่ไม่มี double bond (พันธะคู่) ใน hydrocarbon chain เรียกว่า saturated fatty acid (กรดไขมันอิ่มตัว) เช่น palmitic acid ถ้ามี double bond (พันธะคู่) ใน hydrocarbon chain เรียกว่าunsaturated fatty acid

  42. Phospholipids : Lecithin phospholipids เป็นลิปิดที่มี phosphate group อยู่ด้วย ที่พบมากคือ คือ phosphoglycerides ซึ่งประกอบด้วย glycerol เป็นโมเลกุลแกน และมี fatty acid 2 โมเลกุลมาต่อกับ glycerol ตำแหน่งของ fatty acid โมเลกุลที่ 3 ถูกแทนที่ด้วย phosphate group ซึ่งเป็น hydrophillic และจะมีโมเลกุลอื่น ๆ ( R-group) มาเชื่อมต่อกับ phosphate group อีก

  43. Steroids Steroids สเตรอยด์ไม่ค่อยละลายน้ำ พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ ต่างจากไขมันกลุ่มอื่น ๆ เพราะไม่มี fatty acid มี C-ring 4 อันคล้องกัน (3 ring เป็น 6C, 1 ring เป็น 5C)

  44. Steroids เช่น  cortisone : มาจากต่อมหมวกไต  testosterone : มาจาก testis  progesterone : มาจากรังไข่  cholesterol : พบในหลอดเลือด

  45. ประโยชน์ของไขมัน 1. ให้พลังงาน 9 แคลอรี่/กรัม 2. เป็นแหล่งของวิตามินที่ละลายในไขมัน (A, D, E, K) 3. เป็นองค์ประกอบเยื่อหุ้มเซลล์และระบบต่าง ๆ ในร่างกาย 4. สามารถเปลี่ยนเป็นคาร์โบไฮเดรตและกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็นซึ่งเป็น การสงวนการใช้โปรตีน 5. เป็นฉนวนกันความร้อน

More Related