1 / 13

รวมเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง

รวมเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง. บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21.

Télécharger la présentation

รวมเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รวมเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงรวมเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง

  2. บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 • ครูที่มีใจแก่ศิษย์ยังไม่พอ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนจุดสนใจหรือจุดเน้นจากการสอน ไปเป็นเน้นที่การเรียน (ทั้งของศิษย์ และของตนเอง) ต้องเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ที่ตนจัดให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองจาก “ครูสอน” (teacher)ไปเป็น “ครูฝึก” (coach)หรือ “ผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้” (learning facilitator) และต้องเรียนรู้ทักษะในการทำหน้าที่นี้ โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องที่เรียกว่า PLC (Professional Learning community)

  3. ครูในศตวรรษที่ 21 ต้องยึดหลักสอนน้อย เรียนมาก • “ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑” ( 21st Century Skills)ที่ครูสอนไม่ได้ นักเรียนต้องเรียนเอง หรือพูดใหม่ว่าครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้ และอำนวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ ให้นักเรียนเรียนรู้จากการเรียนแบบลงมือทำ แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนี้เรียกว่า PBL(Project-Based Learning)

  4. (21st Century Learning)

  5. สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21

  6. ครูเพื่อศิษย์ต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะในการเป็นโค้ช และเป็น “คุณอำนวย” (facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Project-Based Learning)ของศิษย์ ครูต้องเลิกเป็น “ผู้สอน” ผันตัวเองมาเป็นโค้ช หรือ “คุณอำนวย” ของการเรียนของศิษย์ที่ส่วนใหญ่เรียนแบบ PBL

  7. ฝากการคิดด้วยใจ • การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีพลัง ด้วยกระบวนการเรียนรู้ Five steps for student development) โดยวิธีการ coachingและmentoring ด้วยเป้าหมายทีผู้เรียน Literacy Numeracy Resoning

  8. ฝากการคิดด้วยใจ • คุณครูลงมือปฏิบัติด้วยความสุข ด้วยการ coachingและmentoring เก็บข้อมูล QSCCS ดูความสามารถนักเรียน Literacy Numeracy Resoning

  9. ฝากการคิดด้วยใจ • สังเกตความเปลี่ยนแปลง เก็บข้อมูลนักเรียนตามเป้าหมายและตัวชี้วัด เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ • เขียนและรายงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน

  10. ฝากการคิดด้วยใจ • สะท้อนเรียนรู้ กับนักเรียน • สะท้อนเรียนรู้กับเพื่อนครูในโรงเรียน • แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนครูทั้งในและนอกโรงเรียน • รวมตัวการเป็น PLC

  11. PLC(Professional Learning Community)

  12. PLC คืออะไร • เครื่องมือในการดำรงชีวิตที่ดีของครูในยุคศตววษที่21 - ครูต้องเปลี่ยนบทบาทจาก ครูสอน (teacher) มาเป็น ครูฝึก (Coach) หรือ ครูผู้อำนวยความสะดวกในการเรียน (Learning Facilitator ) - ห้องเรียนต้องเปลี่ยนจาก ห้องสอน( Class room) มาเป็น ห้องทำงาน( Studio)

  13. PLC คืออะไร • เครื่องมือสำหรับครูให้รวมตัวกันเป็นชุมชน(Community) ทำหน้าที่เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change Agent) ในการปฏิรูป การเรียนรู้ เป็นการปฏิรูปที่เกิดจากภายใน คือครูรวมตัวกันดำเนินการ และเสริมแรงกันทั้งภายในและภายนอก

More Related