1 / 84

Download PHP

Download PHP. C:windowsPHP.ini. พิมพ์แทรก. cgi.force_redirect = 0. เปลี่ยนจาก Off เป็น On. error_reporting=E_ALL & ~E_NOTICE. Internet Programming by PHP. PHP engine. .PHP. PHP Web-Server Architecture. Client Side. Server Side. Web Server. เรียกไฟล์ .PHP. Client. HTML Page.

teal
Télécharger la présentation

Download PHP

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Download PHP

  2. C:\windows\PHP.ini พิมพ์แทรก cgi.force_redirect = 0

  3. เปลี่ยนจาก Off เป็น On

  4. error_reporting=E_ALL & ~E_NOTICE

  5. Internet Programming by PHP

  6. PHP engine .PHP PHP Web-Server Architecture Client Side Server Side Web Server เรียกไฟล์ .PHP Client HTML Page Web Browser Database

  7. PHP Tag Styles • XML Style <?php echo ‘<P>Order porocessed.</P>’; ?> • Short Style <? echo ‘<P>Order porocessed.</P>’; ?> • SCRIPT Style <script language=‘php’> echo ‘<P>Order porocessed.</P>’; </script> • ASP Style <% echo ‘<P>Order porocessed.</P>’; %>

  8. ความสามารถของ PHP • มีความสามารถในการจัดการกับตัวแปรหลายประเภท เช่น integer, float, string, array เป็นต้น • สามารถรับข้อมูลจากฟอร์มของ HTML ได้ • สามารถรับ-ส่ง Cookies ได้ • สามารถใช้ตัวแปรแบบ Session ได้ ( PHP version 4.0 ขี้นไป) • มีความสามารถในการรองรับการเขียนโปรแกรมแบบ OOP(Object Oriented Programming) • สามารถเรียกใช้ COM component ได้ • มีความสามารถในการติต่อและจัดการฐานข้อมูล • มีความสามารถในการสร้างภาพกราฟฟิก

  9. ตัวอย่างของรูปแบบการเขียนโปรแกรมแบบ PHP <HTML> <HEAD> <TITLE> New Document </TITLE> </HEAD> <BODY BGCOLOR="#FFFFFF"> <?php echo "ทดสอบ PHP"; ?> </BODY> </HTML>

  10. Variable Type • Interger => ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขไม่มีจุดทศนิยม • Double => ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำนวนจริง • String => ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษร • Boolean => ใช้สำหรับข้อมูลในการตรวจสอบสถานะที่เป็น True หรือ False • Array => ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็น Multiple Data โดยสามารถใช้ได้กับข้อมูล • ทุกชนิดที่กล่าวมา • Object => ใช้สำหรับเก็บข้อมูลในรูปแบบของ Classes

  11. การประกาศตัวแปร • ต้องมีเครื่องหมาย $ (dollar sing) นำหน้าเสมอ • ใน PHP การประกาศตัวแปรด้วยตัวพิมพ์เล็ก หรือ ตัวพิมพ์ใหญ่จะถือว่าเป็นคนละตัว • แปร เช่น number กับ Number • ชื่อตัวแปรจะต้องขึ้นต้นด้วย ตัวอักษร หรือ เครื่องหมาย _ (Underscore) เท่านั้น • การประกาศตัวแปรใน PHP ไม่ต้องกำหนด Type ของตัวแปร PHP จะเป็นตัวกำหนด • ให้โดยอัตโนมัติ โดยพิจารณาจากค่าที่จะนำมาเก็บในตัวแปรนั้น ยกเว้นตัวแปรชนิด • Array และ Object

  12. EX ตัวอย่างรูปแบบการประกาศตัวแปร <?php $VariablesType = "ตัวเลข"; //ตัวแปร String $variablestype = 10; //ตัวแปร Interger เลขฐาน 10 $number8 = 025; //ตัวแปร Interger เลขฐาน 8 $number16 = 0x25; //ตัวแปร Interger เลขฐาน 16 $NumberReal1 = 9.18; //ตัวแปร Double แสดงจุดทศนิยม $NumberReal2 = 9.18e3; //ตัวแปร Double เลขยกกำลัง 9.81คูณ10ยกกำลัง3 $NumberReal3 = 9.18e-3; //ตัวแปร Double เลขยกกำลัง 9.81คูณ10ยกกำลังลบ3 echo "$VariablesType<br>";echo "$variablestype<br>"; echo "$number8<br>";echo "$number16<br>"; echo "$NumberReal1<br>";echo "$NumberReal2<br>";echo "$NumberReal3<br>"; ?> output

  13. แบบที่ 1 การเก็บค่าลงใน Array <?php $VariablesArray = array("10","20","30"); echo $VariablesArray[0]."<br>"; echo $VariablesArray[1]."<br>"; echo $VariablesArray[2]."<br>"; ?> output แบบที่ 2 <?php $VariablesArray = array('name'=>'สุระชัย', 'Lname'=>'หัวไผ่','Email'=>'surachai@rbac.ac.th'); echo $VariablesArray['name']."&nbsp;"; echo $VariablesArray['Lname']."<br>"; echo $VariablesArray['Email']."<br>"; ?> output

  14. การแสดงค่าจาก Array function each() <?php $VariablesArray = array('name'=>'สุระชัย','Lname'=>'หัวไผ่','Email'=>'surachai@rbac.ac.th'); ?> <?php //แสดงค่าโดยใช้ function each() $VariablesArray1 = each($VariablesArray); echo $VariablesArray1['0']."&nbsp;"; echo $VariablesArray1['1']."<br>"; $VariablesArray1 = each($VariablesArray); echo $VariablesArray1['0']."&nbsp;"; echo $VariablesArray1['1']."<br>"; $VariablesArray1 = each($VariablesArray); echo $VariablesArray1['0']."&nbsp;"; echo $VariablesArray1['1']."<br>"; ?> output

  15. การแสดงค่าจาก Array function list() <?php $VariablesArray = array('สุระชัย','หัวไผ่','surachai@rbac.ac.th'); ?> <?php //แสดงค่าโดยใช้ ้ function List() list($name,$last,$email)=$VariablesArray; echo "ชื่อ $name นามสกุล $last <BR> email $email \n"; ?> output

  16. ตัวอย่าง Arithmetic Operators + การบวก (addition) - การลบ (subtraction) * การคูณ (multiplication) / การหาร (division) % โมดูลัส (modulus) เศษที่ได้จากการหาร + + เพิ่มค่าขึ้น 1 (incrementing) - - ลดค่าลง 1 (decrementing) $a=$b+$c Echo ($a+$b); $c=$a%$b; $a++ นำค่าตัวแปรมาใช้ก่อนค่อยเพิ่มค่า ++$a เพิ่มค่าก่อนค่อยนำค่าตัวแปรมาใช้ $a + =$b $a =$a +$b เทียบเท่า

  17. Logical Operator Operator ความหมาย ตัวอย่าง && หรือ and AND $a && $b || หรือ or OR $a || $b ! NOT !$a ^ หรือ xor Exclusive OR $a ^ $b

  18. Comparison Operators = = หมายความว่า เท่ากับ (equal) = = = หมายความว่า เหมือนกัน (identical) != หรือ <> หมายความว่า ไม่เท่ากับ (not equal) !== หมายความว่า ไม่เหมือนกัน (not identical) < หมายความว่า น้อยกว่า (Less then) > หมายความว่า มากกว่า (Greater than) <= หมายความว่าน้อยกว่าเท่ากับ >= หมายความว่า มากกว่าเท่ากับ หมายเหตุ$a<$b หมายความว่า a น้อยกว่า b

  19. Conditional Execution if <?php $a=1;$b=2; if ($a<$b) { echo "จริง"; } ?> output IfElse <?php $a=1;$b=2; if ($a>$b) {echo "จริง";} else {echo ”เท็จ";} ?> output

  20. Conditional Execution IfElseif <?php $a=1;$b=2; if ($a>$b) {echo "จริง";} elseif($a<$b) {echo "เท็จ";} ?> output Switch <?php $a=1; switch ($a){ case 1: echo “1”; break; case 2: echo ”2"; break; } ?> output

  21. For Iteration <?php For ($a=0; $a<=5; $a++){ echo “$a”; } ?> output While <?php $a=1; While ($a<=5){ echo "$a"; $a++; } ?> output

  22. Do...While Iteration <?php $a=1; do{ echo "$a"; $a++; }While ($a<=6); ?> output Break <?php $a=1; While ($a<=5){ echo "$a"; $a++; if ($a==3){break;} } ?> output

  23. การรับค่าจาก web browser แบบ Post <form method="post" action="form_process.php"> ชื่อ : <input type="text" name="txtname"><br> เพศ : <input type="radio" name="gender" value="m" checked>ชาย <input type="radio" name="gender" value="f">หญิง<br> ระดับการศึกษา : <select name="graduation" size="1"> <option value="1">ประถมศึกษา</option> <option value="2">มัธยมศึกษา</option> <option value="3">อนุปริญญา</option> <option value="4">ปริญญาตรีขึ้นไป</option> </select><br> <input type="hidden" name="myname" value="Member"> <br><input type="submit" value=”Submit">&nbsp; <input type="reset" value="clear"> </form>

  24. การแสดงค่าที่รับจาก web browser ด้วย PHP <?php echo "ค่าของช่องรับข้อความ : <b>" . $txtname . "</b><br>"; echo "ค่าของปุ่มตัวเลือก : <b>" . $gender . "</b><br>"; echo "ค่าของลิสต์บ็อกซ์ : <b>" . $graduation . "</b><br>"; echo "ค่าของ hidden field : <b>" . $myname . "</b>"; ?>

  25. การรับค่าจาก web browser แบบ Get <form method="get" action="form_process2.php"> ชื่อ : <input type="text" name="txtname"><br> เพศ : <input type="radio" name="gender" value="m" checked>ชาย <input type="radio" name="gender" value="f">หญิง<br> ระดับการศึกษา : <select name="graduation" size="1"> <option value="1">ประถมศึกษา</option> <option value="2">มัธยมศึกษา</option> <option value="3">อนุปริญญา</option> <option value="4">ปริญญาตรี</option> </select><br> <input type="hidden" name="myname" value="SOMPRASONG"> <br><input type="submit" value="submit">&nbsp; <input type="reset" value="clear"> </form>

  26. <?php echo "query string ที่พ่วงมากับ URL คือ <br><b>" . $QUERY_STRING . "</b><br>"; echo "ค่าของช่องรับข้อความ : <b>" . $txtname . "</b><br>"; echo "ค่าของปุ่มตัวเลือก : <b>" . $gender . "</b><br>"; echo "ค่าของลิสต์บ็อกซ์ : <b>" . $graduation . "</b><br>"; echo "ค่าของ hidden field : <b>" . $myname . "</b>"; ?> การแสดงค่าที่รับจาก web browser ด้วย PHP

  27. การส่ง query string ผ่าน Hyperlink

  28. <a href=“get_qstr.php? Name=สุระชัย+หัวไผ่ &Email=surachai@rbac.ac.th &Phone=099199302”> send </a> <?php echo . $Name . "</b><br>"; echo . $Email . "</b><br>"; echo . $Phone. "</b>"; ?>

  29. Session • Session เป็นตัวแปร เพื่อเก็บค่าต่างๆไว้ ที่ Client side • Session จะจำค่าตัวแปรไว้จนกว่าจะปิดหน้าต่างของ Web browser • PHP ที่สามารถใช้ตัวแปร Session ได้ ตั้งแต่ version 4.0 ขึ้นไป • เราใช้ตัวแปร Session ช่วยในการเก็บค่า Password • หรือใช้ช่วยคำนวณจำนวนและราคาสินค้าที่ต้องการสั่งซื้อ

  30. Session Function Session_registor(“ชื่อตัวแปร”); ===> ใช้กำหนดค่าให้ session Session_Start(); ===> ใช้เริ่มต้นการทำงานของ session Session_Unregister(“ชื่อตัวแปร”); ===> ยกเลิกตัวแปร session ที่กำหนด Session_destroy(); ===> ยกเลิกตัวแปร session ทั้งหมด

  31. <?php session_start(); session_unregister("username"); ?> <form action="session_file2.php"> <input type="text" name="username"> <input type="submit" value=" OK "> </form> Session Example

  32. Session Example <?php session_register("username"); echo $username; ?> <br><a href="session_file3.php">session_file3.php</a> <?php session_start(); echo $username; ?> <br><a href="session_file1.php">session_file1.php</a>

  33. Cookie • Cookie การเก็บข้อมูลฝัง Client Side • Cookie จะถูกจัดเก็บในรูปของไฟล์ Cookie • ไฟล์ Cookie จะถูกจัดเก็บไว้ที่เครื่อง Client ที่เข้าไปใช้บริการ • Cookie สามารถกำหนดอายุการทำงานได้ • เราใช้ Cookie ในการตรวจสอบและติดตามการใช้บริการต่างของผู้ใช้บริการ web server ได้ • หรืออาจประยุกต์ใช้ในการให้บริการกับลูกค้าประจำได้

  34. Cookie Function Setcookie( ชื่อ,ค่า,เวลาหมดอายุ); ===> ใช้สำหรับส่ง Cookie ไปยังเครื่องผู้ใช้ Output Buffering Function Ob_start(); ===> ใช้เปิดการทำงานของOutputbuffering และจอง buffering ไว้ (ควรเรียกใช้ function ในบรรทัดแรกของโปรแกรม) Ob_end_flush(); ===> ใช้ส่งค่าที่เก็บใน buffer ไปยัง web browser และ ปิดการทำงานของOutputbuffering

  35. Cookie Example <?php //กำหนดให้ cookie หมดอายุหลังจากถูกสร้างแล้วเป็นเวลา 60 วินาที (1 นาที) $c_name = "TestCookie"; $c_val = "123"; setcookie($c_name, $c_val, time() + 60); echo " c_name=$c_name<br>"; echo " c_val=$c_val <br>"; ?> <br> <a href="cookie_test.php">ตรวจสอบค่าของ cookie</a><br>

  36. Cookie Example Output ก่อน 60 วินาที <?php if (isset($HTTP_COOKIE_VARS['TestCookie'])) { echo $HTTP_COOKIE_VARS['TestCookie']; } else { echo "ไม่พบตัวแปร \$HTTP_COOKIE_VARS['TestCookie']"; } ?> Output หลัง 60 วินาที

  37. Cookie Example <?php echo "ทดสอบ"; setcookie("Test", "456", time() + 60); ?>

  38. Management File & Directory for PHP Function ==> fopen() ใช้เเปิด file fopen (“ filename”, “Mode”) รูปแบบ ==> • Mode • r ==> เปิดอ่านอย่างเดียวโดยเริ่มอ่านจากตำแหน่งเริ่มต้นของไฟล์ • r+ ==> เปิดอ่านและเขียนไฟล์ โดยเริ่มอ่านจากตำแหน่งเริ่มต้นของไฟล์ • w ==> เขียนไฟล์ทับไฟล์เดิมข้อความเดิมจะหายหมด ถ้าไม่มีไฟล์อยู่จะเขียนไฟล์ขึ้นมาใหม่ • w+ ==> เปิดเพื่ออ่านไฟล์และ เขียนไฟล์ทับไฟล์เดิมข้อความเดิมจะหายหมด ถ้าไม่มีไฟล์อยู่จะเขียนไฟล์ขึ้นมาใหม่ • a ==> เขียนต่อท้ายไฟล์ ถ้าไม่มีไฟล์อยู่จะเขียนไฟล์ขึ้นมาใหม่ • a+ ==> เปิดเพื่ออ่านไฟล์และ เขียนต่อท้ายไฟล์ ถ้าไม่มีไฟล์อยู่จะเขียนไฟล์ขึ้นมาใหม่

  39. Function ==> fclose() ใช้เปิด file fclose ( “file_ID”) รูปแบบ ==> File_ID ==> คือหมายเลขไฟล์ที่ทำการเปิดหลังใช้ fopen()

  40. Function ==> fpassthru() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้อ่านข้อมูลทั้งหมดจากไฟล์และปิดไฟล์โดยไม่ต้องใช้ fclose() <?PHP $file1 = fopen("filephp.txt","r"); echo $file1; fpassthru ($file1); ?>

  41. Function ==> fread() เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้อ่านข้อมูลจากไฟล์โดยกำหนดจำนวนไบต์ได้ fread(“file_ID”,”จำนวน Byte ที่ต้องการอ่าน”) รูปแบบ ==> <?PHP $file1 = fopen("filephp.txt","r"); $mydata = fread($file1,5); echo $mydata."<BR>"; fclose ($file1); ?>

  42. Function ==> file() เป็นฟังก์ชั่นพิเศษที่ใช้อ่านข้อมูลจากไฟล์โดยไม่ต้องสั่งเปิดไฟล์ด้วยฟังก์ชัน fopen() file(“ชื่อไฟล์”) รูปแบบ ==> <?php $data1 = file(“C:/inpub/wwwroot/test.txt”) for ($I=0; $I<Count($data); $i++){ echo $data1.”<BR>:”; } ?> aaa bbb ccc

  43. การเขียนข้อมูลลง file fputs() fwrite() การเขียนข้อมูลลง file ใน PHP มี 2function ใช้งานเหมือนกัน fputs(“File_ID”,”ข้อมูลที่ต้องการเขียนลงไฟล์”) รูปแบบ ==> <?php $file1 = fopen("filephp.txt","r"); fputs($file1,”ทดสอบ”); fclose ($file1);} ?>

  44. PHP Connection to ODBC 1. สร้างฐานข้อมูล 2. ทำการเชื่อมต่อ ODBC ของ Microsoft Windows กับ ฐานข้อมูลที่ สร้างขึ้น 3. กำหนดชื่อ ของ DSN (Data Source Name) ที่ใช้ สำหรับเชื่อมต้อฐานข้อมูล 4. ใช้ Function ที่มีอยู่ใน PHP Engine เรียกใช้ฐานข้อ มูลผ่าน DSN ที่กำหนดไว้

  45. รูปแบบการเชื่อมต่อฐานข้อมูลรูปแบบการเชื่อมต่อฐานข้อมูล 1. เปิดฐานข้อมูล ==> Connection 2. จัดการฐานข้อมูล ==> Insert,Update,Delete,Search 3. ปิดฐานข้อมูล==>Close

  46. ฟังก์ชัน odbc_Connect() ใช้สำหรับการเชื่อมฐานข้อมูล รูปแบบ $conn=odbc_Connect(“DSN”,”Usename”,”Password”);

More Related