1 / 28

มารดาตาย

การประชุม MCH Board ระดับจังหวัด ประจำปี 2557 17 เมษายน 2557 ณ ห้องประชุมศรีไผท สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์. เป้าหมายแผนการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กปี 57. มารดาตาย. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ. ทารกตาย. หมู่บ้านสายใยรัก. ศูนย์ 3 วัย สายใยรัก. ปัจเจกบุคคล. LBW/BA. ชุมชน.

tejana
Télécharger la présentation

มารดาตาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุม MCH Board ระดับจังหวัดประจำปี 255717 เมษายน 2557 ณ ห้องประชุมศรีไผทสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์

  2. เป้าหมายแผนการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กปี 57 มารดาตาย ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ทารกตาย หมู่บ้านสายใยรัก ศูนย์ 3 วัย สายใยรัก ปัจเจกบุคคล LBW/BA ชุมชน หมู่บ้านไอโอดีน พัฒนาการ ตำบลนมแม่ โภชนาการ/นมแม่ แม่และเด็ก ทันตสุขภาพ วัคซีน LR คุณภาพ ระบบบริการ สาธารณสุข รพ./รพ.สต. สายใยรักฯ WCC คุณภาพ/กระตุ้นพัฒนาการ ANC คุณภาพ

  3. แผนการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กแผนการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก • การประเมินโรงพยาบาลสายใยรัก • การประเมิน รพ.สต. สายใยรัก • การประเมินตำบลนมแม่ในพื้นที่เดียวกันกับ รพ.สต.สายใยรัก • การประเมินศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ • การประเมิน ANC/LR/WCC คุณภาพ • การประเมินตัวชี้วัดประจำปี • การพัฒนาเครือข่ายบริการตามมาตรฐาน Service Plan

  4. ตัวชี้วัดงานแม่และเด็กตัวชี้วัดงานแม่และเด็ก • เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ • อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิดมีชีพ • อัตราตายของทารก(0-1 ปี) ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิดมีชีพ • เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 • รพ./รพ.สต. สายใยรักแห่งครอบครัว • (มาตรฐาน ANC / LR / WCC คุณภาพ) • 5. ลดอัตราการเสียชีวิตของทารกLBWภายใน 28 วันใน รพ.

  5. ANC คุณภาพ • เป้าหมายบริการ • หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 • หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง(12,18,26,32,38) ร้อยละ 60 • มารดาหลังคลอดได้รับการดูแล 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 • หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 100 • หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองธาลัสซีเมีย ร้อยละ 80 • หญิงตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี ฝากครรภ์รายใหม่ต่อพันประชากร ร้อยละ 10 • หญิงตั้งครรภ์อายุ น้อยกว่า 15 ปี ฝากครรภ์รายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 0.5

  6. LR คุณภาพ • มารดาที่คลอดบุตรอายุน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 10 • ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอดต่อมารดาคลอด ร้อยละ 5 • อัตราการขาดออกซิเจนต่อพันการเกิดมีชีพ 25:1000 • อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 7 • ร้อยละหน่วยบริการระดับA-M2 ผ่าตัดคลอดได้ 6 แห่ง • ร้อยละมารดาหลังคลอดได้รับยาเม็ดไอโอดีน ร้อยละ 100

  7. WCC คุณภาพ • เป้าหมายบริการ • เด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 • เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 80 • เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 • เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ 80 • เด็ก 6 เดือน – 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 100 • เด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 57 • เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 • เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 95

  8. ตัวชี้วัดเชิงพื้นที่ • ตำบลนมแม่สานสายใยรักฯ ร้อยละ 35 • ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ร้อยละ 70 • รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90 • รพ.สต.สายใยรัก แห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 35

  9. เรื่องแจ้งเพื่อทราบ

  10. ผลการดำเนินงาน ปี2556-2557

  11. โรงพยาบาลที่ต้องประเมินซ้ำ ปี 57 • รพ.สุรินทร์ • รพ.ปราสาท • รพ.กาบเชิง • รพ.ท่าตูม • รพ.ชุมพลบุรี • โรงพยาบาลที่ได้รับการสุ่มประเมิน ปี 57 • รพ.สุรินทร์ • รพ.ปราสาท

  12. เรื่อง เพื่อพิจารณา

  13. กำหนดการประเมิน รพ.สายใยรัก • บทบาทกรรมการประเมินโรงพยาบาลสายใยรัก ระดับจังหวัด • ระดับจังหวัด ประเมินไขว้ จังหวัดในเขต ได้แก่ • สุรินทร์ ประเมิน บุรีรัมย์ วันที่....13 มิย57................ • ชัยภูมิ ประเมินสุรินทร์ วันที่.................... • 2. ระดับNode ประเมินไขว้อำเภอภายในจังหวัด • รพ.ปราสาท ประเมิน ...สังขะ.................................. • รพ.ท่าตูม ประเมิน ....ปราสาท................................. • รพ.ศีขรภูมิ ประเมิน .....รัตนบุรี................................. • รพ.รัตนบุรี ประเมิน ......ท่าตูม................................. • รพ.สังขะ ประเมิน .....ศีขรภูมิ....................................

  14. กำหนดการประเมินรพ./รพ.สต.กำหนดการประเมินรพ./รพ.สต. บทบาทกรรมการประเมินโรงพยาบาลสายใยรัก ระดับอำเภอ 1. ระดับNode ประเมินอำเภอภายในเครือข่าย รพ.ปราสาท ประเมิน กาบเชิง,พนมดงรัก รพ.ท่าตูม ประเมิน ชุมพลบุรี รพ.ศีขรภูมิ ประเมิน สำโรงทาบ รพ.รัตนบุรี ประเมิน สนม รพ.สังขะ ประเมิน บัวเชด รพ.สุรินทร์ ประเมิน จอมพระ,ลำดวน 2. ระดับอำเภอ ประเมิน รพ.สต. ภายใน CUP ร้อยละ 35

  15. เกณฑ์ประเมินรพ./รพ.สต.สายใยรักเกณฑ์ประเมินรพ./รพ.สต.สายใยรัก • ทีมประเมิน(3-5 คน) ควรประกอบด้วย • 1. แพทย์ผู้รับผิดชอบประธาน MCHBoard ดูด้านบริหารโครงการ • 2.หัวหน้างาน ANC/LR/WCC ประจำโรงพยาบาล • 3. หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ ดูภาพรวมด้านบุคลากร/ชมรม/ผลลัพธ์ • การเตรียมแม่และเด็ก/จนท.ในวันประเมินเพื่อสัมภาษณ์ • หญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาล 8-10 คน • หญิงหลังคลอดที่คลอดในโรงพยาบาล 8-10 คน • แม่ที่พาบุตรมารับบริการในคลินิกเด็กดี 8-10 คน • มิสนมแม่และ จนท.ที่เกี่ยวข้องในการให้บริการในวันประเมิน ทุกคน ผ่านเกณฑ์ ทุกข้อ ร้อยละ 80 ถือว่าผ่าน

  16. ข้อสังเกตในการประเมินข้อสังเกตในการประเมิน • จนท. ต้องผ่านการฝึกอบรมด้านแม่และเด็ก/นมแม่ อย่างน้อย 20 ชั่วโมง/การช่วยฟื้นคืนชีพมารดาและทารก ปีละ 1 ครั้ง ยกเว้น จนท.บรรจุใหม่ไม่เกิน 6 เดือน แต่มีแผนจัดการอบรม • ห้ามมีการจำหน่าย/จ่ายแจก/ติดป้ายที่บ่งบอกถึงการไม่ปกป้องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • มีทีมเจรจาไกล่เกลี่ย/ทีมให้คำปรึกษา • โรงพยาบาลที่ไม่มี NICU /หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด ไม่ต้องประเมิน แต่ให้เน้นประเมินการเตรียมความพร้อมสำหรับการช่วยเหลือเด็ก • คลินิกนมแม่ มีผู้ดูแลอย่างน้อย 1 คน • มีการคัดกรองมารดาและทารกที่เข้ามาในแผนก เพื่อแยกการบริการแบบกลุ่มปกติ/กลุ่มเสี่ยง

  17. การประเมินตำบลนมแม่ ดำเนินการทุกตำบล ประเมินพร้อมกับ รพ.สต.สายใยรักฯ ร้อยละ 35

  18. การพิจารณาแผน Service Plan ปี 2557 • สาขาสูติกรรม • ด้านโครงสร้าง • 1. พัฒนาระดับ A-M2 ทำผ่าตัดคลอด Elective / Emergencyได้ • 2. เพิ่มเตียงผ่าตัดพร้อมอุปกรณ์ (ปราสาท/สังขะ) เตียงคลอด(ปราสาท) • 3. ห้องคลังเลือด (ท่าตูม) • ด้านบุคลากร • วิสัญญีแพทย์(สังขะ) • วิสัญญีพยาบาล (ท่าตูม) • สูติแพทย์(รัตนบุรี/สังขะ) • พยาบาลผดุงครรภ์ขั้นสูง (ท่าตูม/รัตนบุรี) • พยาบาลสาขามารดาและทารก (ศีขรภูมิ/ท่าตูม)

  19. การพิจารณาแผน Service Plan ปี 2557 • สาขากุมารเวชกรรม • ด้านโครงสร้าง • รพ.ระดับ M2 ดูแลผู้ป่วยเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจได้ • รพ.ระดับ F1 สามารถดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะวิกฤตทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง และมีระบบส่งต่อที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ปี 2558 • รพ.ระดับ A ตั้งหอผู้ป่วยวิกฤตเด็ก • รพ.ระดับ M1-2 ที่มีกุมารแพทย์ ตั้งหอผู้ป่วยเด็กใน รพ. • ด้านบุคลากร • กุมารแพทย์สาขาทารกแรกเกิด ระดับ A • กุมารแพทย์ด้านพัฒนาการเด็ก /กุมารแพทย์สาขาทั่วไป ระดับA-M • พยาบาลสาขาทารกแรกเกิด ระดับ A-M • พยาบาลสาขาแม่และเด็ก/พยาบาลด้านพัฒนาการเด็ก ระดับ A-F

  20. การพิจารณาแผน Service Plan ปี 2557 • สาขาทารกแรกเกิด • ด้านโครงสร้าง • รพ.ระดับ A ตั้งหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤต(NICU)และ ปรับปรุงSINB • รพ.ระดับ M1-2 แยกหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด • รพ.ระดับ F แยกพื้นที่ให้บริการทารกแรกเกิดเป็นสัดส่วน • ด้านครุภัณฑ์ • เครื่องช่วยหายใจความถี่สูง • เครื่องช่วยหายใจแบบเคลื่อนที่สำหรับทารกแรกเกิด • เครื่องกระตุ้นหัวใจ/ตู้อบ/เครื่องให้ความอบอุ่น/เครื่อง CiPAP/เครื่องตรวจ Blood gas/เครื่องควบคุมการให้สารน้ำ

  21. การพิจารณาแผน Service Plan ปี 2557 • ด้านบุคลากร • กุมารแพทย์สาขาทารกแรกเกิด • พยาบาลด้านเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด • พยาบาลด้านทารกวิกฤต • พัฒนาศักยภาพทีม LR/OR/ER มีทักษะการช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด • อบรมความรู้เรื่องการดูแลทารกขณะส่งต่อ STABLE Program • อบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาลการดูแลทารกแรกเกิดใน รพ.เครือข่าย

  22. การกำหนดบทบาทการดูแลอนามัยแม่และเด็กการกำหนดบทบาทการดูแลอนามัยแม่และเด็ก รพท/รพศ. ดูแลทารกขั้นวิกฤต เสี่ยง ปกติ รพช.M ดูแลเบื้องต้นขั้นวิกฤต ปกติ เสี่ยง รพช.F ดูแลรักษาไม่ซับซ้อน เสี่ยง ปกติ รพ.สต.P มารดาและทารก

More Related