1 / 17

เหลียวหลัง.....แลหน้า กศน.

เหลียวหลัง.....แลหน้า กศน. ดร.กล้า สมตระกูล. แนะนำตัว. 2509 ครู ร.ร.ฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ กรมอาชีวศึกษา 2516 ครู ร.ร.สารพัดช่างพระนคร 2517 ครูศูนย์การศึกษาผู้ใหญ่ภาคเหนือ เชียงใหม่ ปฏิบัติงานโครงการเงินกู้ธนาคารโลก เพื่อพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน (คพน.) 2525 หัวหน้าสถานศึกษา (ศฝช.ปจ.)

tekla
Télécharger la présentation

เหลียวหลัง.....แลหน้า กศน.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เหลียวหลัง.....แลหน้า กศน. ดร.กล้า สมตระกูล

  2. แนะนำตัว • 2509 ครู ร.ร.ฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ กรมอาชีวศึกษา • 2516 ครู ร.ร.สารพัดช่างพระนคร • 2517 ครูศูนย์การศึกษาผู้ใหญ่ภาคเหนือ เชียงใหม่ ปฏิบัติงานโครงการเงินกู้ธนาคารโลก เพื่อพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน (คพน.) • 2525 หัวหน้าสถานศึกษา (ศฝช.ปจ.) • 2530 ผอ.กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน • 2535 ผอ.กองแผนงาน 2537 ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา • 2540 รองอธิบดี กศน.

  3. 2543 ที่ปรึกษากระทรวงศึกษาธิการ • 2545 อธิบดีกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม • 2546 รองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม วิทยากรและการเผยแพร่งาน กศน. มาเลเชีย อินโดนิเชีย ฟิลิปปินส์ ลาว กัมพูชา จีน พม่า บังคลาเทศ เนปาล อินเดีย เกาหลี เวียดนาม ญี่ปุ่น สวิสเซอร์แลนด์ เยอรมัน เนเธอร์แลนด์ มองโกเลีย

  4. ความภูมิใจส่วนตน กรรมการระดับนานาชาติ 1. กรรมการบริหาร UNESCO Institute for Education (UIE)Germany 2. กรรมการบริหารSEAMEO, SEAMOLEC for Distance Education 3. ประธานกรรมการ Asia-Pacific Network of Science&Technology Center (ASPAC) 4. กรรมการฝ่ายการศึกษา World Sustainable Agriculture Association (WSAA) USA 5. ประธานด้าน Vocational & TechnologyEducation (ASPBAE) รางวัลDoctor of Humanities, Bulacan State University. Philippines

  5. ความภูมิใจในความเป็น กศน. • 2508 พัฒนาหลักสูตรสายสามัญต่อเนื่อง เทียบเท่าหลักสูตรในระบบโรงเรียน (การยอมรับในความเท่าเทียมของ กศน.และในระบบโรงเรียน) • 2511 ทดลองการศึกษาผู้ใหญ่แบบสมกิจ (แบบเบ็ดเสร็จ) โดยใช้หลักปรัชญา “คิดเป็น” และเผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ • 2514 จัดตั้งที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน และเผยแพร่สู่ระดับนานาชาติ • 2515 โอนงานโรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนที่ ที่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นนวัตกรรมการจัดรูปแบบการศึกษานอกระบบที่ดีของโลก

  6. สรุปนวัตกรรมทางการศึกษาผู้ใหญ่ พ.ศ.2504-2519 1. จัดการศึกษาตาม “ปรัชญาคิดเป็น” 2. หลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จ (Functional Literacy) 3. การศึกษานอกโรงเรียนทางวิทยุและไปรษณีย์ 4. การศึกษานอกโรงเรียนสำหรับชาวเขา 5. การใช้อาสาสมัครเดินสอน 6. ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 7. จัดการศึกษาตามแนวทางการศึกษาตลอดชีวิต (พื้นฐาน ข่าวสารข้อมูล ทักษะอาชีพ)

  7. (ที่อ่าน นสพ. ห้องสมุด หน่วยโสตฯเคลื่อนที่ วิทยุโรงเรียนและประชาชน โทรทัศน์เพื่อการศึกษา พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์) ฝึกทักษะอาชีพ (กลุ่มสนใจ อาชีพระยะสั้น และทักษะชีวิต) • 2525 จัดตั้งศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปราจีนบุรี • 2536 จัดตั้งศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ อื่นๆเพิ่มเติม • 2537 จัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัด อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้าฯ

  8. สรุป...... เป็นหน่วยงานที่พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา หลายด้านให้แก่นานาชาติ เช่น • Thai Functional Literacy, • Village Newspaper Reading Center, • Community Learning Center, • NFE Equivalency Program • Literacy Campaign • Mobile Trade Training School • Hill Tribes Project • Radio & Correspondent Program • Skills & Occupational Training Program • Khit-pen Philosophy

  9. กศน. ยุคปฏิรูปการศึกษา 2542-ปัจจุบัน 1.ลดขนาดของกรมฯ เป็นสำนักบริหารงานฯ 2.ลดและเปลี่ยนบทบาทของ ศนภ. และศนจ. 3.จัดตั้ง ศบอ.และศูนย์ กศน.ตำบล 4.ยุบหลักสูตร กศน.แบบเบ็ดเสร็จ และหลักสูตร ปอ. สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน (2548-2551) 1. สร้างโอกาสทางการศึกษา 2. พัฒนาการจัดการและคุณภาพการเรียนรู้

  10. สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551-ปัจจุบัน 1.มี พรบ. เฉพาะตน ที่กำหนดภารกิจอย่างชัดเจน 2.ลดบทบาทของผู้ปฏิบัติและบริการ แต่เป็นผู้ส่งเสริมมากขึ้น 3. ฯลฯ

  11. ปรัชญา คิดเป็น(Khit-pen Man) ที่มา พ.ศ. 2513 ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ อดีตผู้อำนวยการกองการศึกษาผู้ใหญ่ และคณะได้ประยุกต์ หลักของการคิดและแก้ปัญหา เพื่อมุ่งสู่การดำรงชีวิต อย่างมีความสุข ของตนเอง ครอบครัว และสังคม

  12. ความหมาย “บุคคลที่คิดเป็นจะสามารถเผชิญปัญหาชีวิตในชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นระบบ บุคคลผู้นี้จะสามารถพินิจพิจารณาสาเหตุของปัญหาที่กำลังเผชิญอยู่ และสามารถรวบรวมข้อมูลต่างๆได้อย่างกว้างขวางเกี่ยวกับทางเลือก เขาจะพิจารณาข้อดี ข้อเสียของแต่ละเรื่อง โดยใช้ความสามารถเฉพาะตัว ค่านิยมของตนเอง และสถานการณ์ที่กำลังเผชิญอยู่ ประกอบการพิจารณา”

  13. เป้าหมาย คนทุกคน ปรารถนามีชีวิตอย่างมี ความสุข แต่จะมีความสุขได้ เมื่อคนนั้นและสังคมสิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกันอย่างราบรื่น ทั้งทางด้านวัตถุ กาย และใจ

  14. แนวคิดหลัก 1.มนุษย์ทุกคน ล้วนต้องการ ความสุข 2.ความสุขที่ได้ เป็นการปรับตนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ตามวิธีการของตน 3.การตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล 3 ด้าน คือ ด้านตนเอง สังคม และวิชาการ 4.คนคิดเป็น คิดและตัดสินใจที่ตนเองมี ความสุข ไม่ทำให้บุคคลหรือสังคมเดือดร้อน

  15. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.จัดให้ผู้เรียนวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาและความต้องการของตน 2.จัดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ที่หลากหลาย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง ด้วยกระบวนการกลุ่ม 3.ให้โอกาสได้เรียนรู้จากประสบการณ์ชีวิตจริง เช่น กรณีศึกษา การทำโครงงาน 4.ฝึกให้ผู้เรียนตัดสินใจด้วยข้อมูลทั้ง 3 ด้าน (ของตน ของสังคม และข้อมูลทางวิชาการ) ที่เหมาะสมและเพียงพอ

  16. โชคดี...มีความสุข ดั่งเช่น “คนคิดเป็น”

More Related