1 / 32

การบริหารงบประมาณ งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

การบริหารงบประมาณ งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง. ธีรพล บัวแก้ว สุรินทร์ สว่างอารมณ์ สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง. หมายถึง การจัดเตรียมรายละเอียดรายการ

thomas-beck
Télécharger la présentation

การบริหารงบประมาณ งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบประมาณงบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ธีรพล บัวแก้ว สุรินทร์ สว่างอารมณ์สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  2. การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง การจัดเตรียมรายละเอียดรายการ ค่าใช้จ่ายเพื่อนำเสนอของบประมาณ ต่อสำนักงบประมาณ

  3. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดิน และหรือสิ่งก่อสร้าง รวมสิ่งต่างๆ ที่ติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ดังนี้ 1. เพื่อจัดหาที่ดิน 2. เพื่อปรับปรุงที่ดิน > 50,000 บาท 3. เพื่อสร้างดัดแปลง ต่อเติม ปรับปรุง สิ่งก่อสร้าง > 50,000 บาท 4. ติดตั้งระบบไฟฟ้า-ประปา ครั้งแรกในอาคาร 5. เพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงาน จ่ายให้เอกชนหรือนิติบุคคล 6. เพื่อจ้างที่ปรึกษา ในการจัดหา / ปรับปรุง ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 7. ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน

  4. ขอบเขตงบลงทุนที่เกี่ยวกับการก่อสร้างขอบเขตงบลงทุนที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง 1. จัดซื้อที่ดิน 2. ก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบ สิ่งก่อสร้าง (ประเภทอาคาร แบบมาตรฐาน แบบพิเศษ) 4

  5. ขอบเขตงบลงทุนที่เกี่ยวกับการก่อสร้างขอบเขตงบลงทุนที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง 3. ปรับปรุง ซ่อมแซม อาคารเรียน อาคารประกอบ สิ่งก่อสร้างที่ชำรุด - ปรับปรุงบริเวณ รร. (ถมดิน,ปรับปรุง พท., ระบบระบายน้ำ) - ทำถนนภายใน รร. (ลูกรัง, ลาดยาง, คสล.) - สร้างเขื่อนกันดินพัง, กันน้ำท่วม รั้ว (คสล., ตาข่าย, อิฐบล็อค, ลวดหนาม) - ติดตั้งระบบไฟฟ้า-ประปาใน รร.(เฉพาะติดตั้งครั้งแรกในอาคาร) - ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ภายใน รร.

  6. งบดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับงบลงทุนงบดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับงบลงทุน 1. ดัดแปลง ต่อเติม ปรับปรุงซ่อมแซม ที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่ต่ำกว่า50,000 บาท 2. ปักเสาพาดสาย,ติดตั้งหม้อแปลง ,ติดตั้งมิเตอร์, เครื่องวัด , อุปกรณ์ไฟฟ้า 3. เดินสายไฟฟ้า , ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า , ซ่อมแซมบำรุงรักษา , ปรับปรุงระบบ , เพิ่มกำลังไฟฟ้า ขยายเขตไฟฟ้า

  7. งบดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับงบลงทุน(ต่อ)งบดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับงบลงทุน(ต่อ) 4. ค่าวางท่อประปา, ติดตั้งมาตรวัดน้ำ, อุปกรณ์ประปา 5. จ้างเหมาเดินท่อประปา , ติดตั้งอุปกรณ์ , ซ่อมแซมบำรุงรักษา ปรับปรุงระบบประปา 6. ค่ารื้อถอนอาคารเรียน อาคารประกอบ (ค่าแรง) 7

  8. แนวทางในการจัดตั้งงบประมาณประจำปีงบลงทุน ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างของหน่วยงานแต่ละระดับ

  9. แนวทางในการจัดตั้งงบลงทุนแนวทางในการจัดตั้งงบลงทุน สพฐ. 1. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล นโยบายรัฐบาล, จุดเน้น ของ สพฐ. สภาพความขาดแคลนสิ่งก่อสร้าง 2. จัดทำแนวทาง ขั้นตอน เกณฑ์ ปฏิทิน นโยบาย จุดเน้น 3. แจ้งแนวทาง ขั้นตอน เกณฑ์ ปฏิทิน นโยบาย จุดเน้น ให้ สพม. ดำเนินการ 4. ประมวลผลภาพรวมของทุก สพท. 5. นำเสนอ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงบประมาณ

  10. แนวทางในการจัดตั้งงบลงทุนแนวทางในการจัดตั้งงบลงทุน สพท. 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา, (ผอ.สพท.ประธานฯ , ผู้แทนผู้บริหารมัธยมศึกษาทุกขนาด , จนท.ที่เกี่ยวข้อง, ผอ.กลุ่มนโยบายเป็นกรรมการ/เลขานุการ) 2. แจ้งแนวทาง ขั้นตอน เกณฑ์ ปฏิทิน นโยบาย จุดเน้น ให้สถานศึกษาดำเนินการ 3. ประมวลภาพรวม เสนอขอความเห็นชอบ กพท. 4. นำเสนอ สพฐ.

  11. แนวทางในการจัดตั้งงบลงทุนแนวทางในการจัดตั้งงบลงทุน สถานศึกษา 1. ให้คณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมวางแผนกำหนดนโยบายในการจัดตั้งงบประมาณ 2. ทบทวนข้อมูลความจำเป็นขาดแคลน ให้สอดคล้องแผนจัดชั้นเรียนและแนวโน้ม 3. เสนอคำขอตั้งงบประมาณนำส่ง สพม.

  12. เกณฑ์มาตรฐานสิ่งก่อสร้างเกณฑ์มาตรฐานสิ่งก่อสร้าง อาคารเรียน (ดูตารางประกอบ) อาคารประกอบ (อเนกประสงค์, หอประชุม, โรงอาหาร, อาคารฝึกงาน, ส้วม, บ้านพักครู บ้านพักภารโรง, บ้านพักนักเรียน) สนามกีฬา (บาสเก็ตบอล, ฟุตบอล, ลานกีฬาอเนกประสงค์) ถังน้ำซีเมนต์ ค่าก่อสร้างอื่นๆ (ซ่อมแซม รั้ว ถนน ปรับปรุงบริเวณ รร., ไฟฟ้า-ประปา)

  13. เกณฑ์การวิเคราะห์การจัดสรรอาคารเรียนเกณฑ์การวิเคราะห์การจัดสรรอาคารเรียน 1. จำนวนนักเรียน ณ. วันที่ 10 มิถุนายน ของปีที่ เสนอตั้งงบประมาณ 2. แผนการจัดชั้นเรียนแต่ละระดับชั้น 3. การกำหนดแบบอาคารต้องกำหนดให้สอดคล้อง - ความขาดแคลนตามเกณฑ์ - สภาพบริบทของอาคารประเภทเดียวกันที่มีอยู่เดิม - สถานที่ ขนาดพื้นที่ บริเวณที่จะก่อสร้างอาคารเรียน

  14. เกณฑ์การคิดคำนวณนักเรียน ต่อ ห้อง ใช้เกณฑ์การคิด ดังนี้ 1. สถานศึกษาทั่วไป คิดนักเรียน 40 คน : ห้อง 2. สถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ คิดนักเรียน 35 คน : ห้อง ( ทั้ง 2 กรณีคิดนักเรียนในแต่ละระดับชั้น และหากมีเศษตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ปัดเพิ่มอีก 1 ห้อง )

  15. แบบพิเศษ เป็นรูปแบบรายการที่ สพม./สถานศึกษา กำหนดขึ้นเอง โดยดำเนินการจัดทำแบบรูป-รายการ พร้อมประมาณราคาวัสดุ โดยมีวิศวกรรับรองฯ ให้เป็นตาม พ.ร.บ. วิชาชีพวิศวกร

  16. ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งก่อสร้าง สพท./สถานศึกษา ประเมินสภาพความจำเป็นในการปรับปรุงซ่อมแซมฯ กำหนดประเภทงาน / เนื้องาน ที่จะปรับปรุงซ่อมแซม จัดทำประมาณราคาวัสดุ

  17. 8. การเสนอของบประมาณค่าปรับปรุงระบบไฟฟ้า ความหมายเป็นการปรับปรุงระบบไฟฟ้าที่ประกอบด้วย 1. ค่าปักเสาพาดสายนอกสถานที่ราชการ ติดตั้งหม้อแปลง เครื่องวัด 2. ค่าเหมาเดินสายไฟฟ้าและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม การขยายเขตไฟฟ้า การจัดลำดับความสำคัญ 1. การติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า (ยังไม่มี หรือ ชำรุด) 2. เปลี่ยนขนาดหม้อแปลงเนื่องจากการเพิ่มของ นร. และอื่นๆ

  18. 8. การเสนอของบประมาณค่าปรับปรุงระบบไฟฟ้า (ต่อ) เกณฑ์การกำหนดขนาดหม้อแปลงไฟฟ้า 1. นักเรียน ต่ำกว่า 500 คน ขอได้ไม่เกิน 100 KVA 2. นักเรียน 501 - 999 คน ขอได้ไม่เกิน 160 KVA 3. นักเรียน 1,000 – 1,999 คน ขอได้ไม่เกิน 250 KVA 4. นักเรียน 2,000 คนขึ้นไป ขอได้ไม่เกิน 500 KVA หากขอเกินเกณฑ์ที่กำหนดให้ชี้แจงพร้อมจัดส่งเอกสารเพิ่มเติม

  19. 9. การเสนอของบประมาณค่าปรับปรุงระบบประปา ความหมายเป็นการปรับปรุงระบบประปาที่ประกอบด้วย 1. ค่าวางท่อประปานอกสถานที่ราชการ ติดตั้งมาตรวัดน้ำ 2. ค่าจ้างเหมาเดินท่อประปาและติดตั้งอุปกรณ์ประปาเพิ่มเติม การปรับปรุงระบบประปา การจัดลำดับความสำคัญ 1. การต่อเชื่อมระบบประปาเข้าสู่โรงเรียน 2. เดินท่อจากหอถังไปสู่อาคาร 3. สร้างหอถัง (กรณีมีการเดินท่อภายในไว้แล้ว) 4. เดินท่อภายในและก่อสร้างหอถัง (กรณีมีแหล่งน้ำแล้ว)

  20. 9. การเสนอของบประมาณค่าปรับปรุงระบบประปา (ต่อ) การจัดลำดับความสำคัญ (ต่อ) 5. เดินท่อประปาภายในเพื่อทดแทนของเดิมที่ชำรุด เกณฑ์การกำหนดขนาดหม้อแปลงไฟฟ้า 1. นักเรียน ต่ำกว่า 1,000 คน หอถังประปาขนาด 9/9 2. นักเรียน 1,000 คนขึ้นไป หอถังประปาขนาด 18/12 หากขอเกินเกณฑ์ที่กำหนดให้ชี้แจงพร้อมจัดส่งเอกสารเพิ่มเติม

  21. การตั้งงบประมาณปี 2556 • ก่อสร้างปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ • ก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ ละแบบเอนกประสงค์ 5 หลัง • ก่อสร้างอาคารเรียนแบบมาตรฐาน แบบ 108 ล./55 จำนวน 50 หลัง • ก่อสร้างอาคารเรียนแบบมาตรฐาน แบบ 318 ล./55 จำนวน 20 หลัง • ก่อสร้างอาคารเรียนแบบมาตรฐาน แบบ 324 ล./55 จำนวน 15 หลัง

  22. อาคารเรียนแบบ 108 ล/55 (70*14)ราคา 10,444,000 บาท

  23. อาคารเรียน แบบ 212 ล/55 (70*14)ราคา 13,860,000 บาท

  24. อาคารเรียนแบบ 216 ล/55 (70*14)ราคา 16,852,000 บาท

  25. อาคารเรียนแบบ 318 ล/55 (70*14)ราคา 18,732,000 บาท

  26. อาคารเรียนแบบ 324 ล/55 (84*14 ม.)ราคา 23,300,000 บาท

  27. การตั้งงบประมาณปี 2556 • ก่อสร้างปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ • ก่อสร้างหอประชุมแบบ 101 ล./27 จำนวน 15 หลัง • ก่อสร้างหอประชุมแบบ 100/27 จำนวน 20 หลัง • ก่อสร้างโรงอาหารขนาดเล็ก/55 จำนวน 30 หลัง • ก่อสร้างโรงอาหารขนาดกลาง/55 จำนวน 30 หลัง • ก่อสร้างห้องน้ำห้องส้วมนักเรียนชาย 6ที่นั่ง/49 จำนวน 50 หลัง • ก่อสร้างห้องน้ำห้องส้วมนักเรียนหญิง 6ที่นั่ง/49 จำนวน 50 หลัง

  28. การตั้งงบประมาณปี 2556 • ก่อสร้างปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ • ก่อสร้างโรงฝึกงานแบบ 102 จำนวน 35 หลัง • ก่อสร้างโรงฝึกงานแบบ 204 จำนวน 25 หลัง • ก่อสร้างบ้านพักนักเรียน 4 ชั้น 240 คน 3 หลัง • โต๊ะเก้าอี้นักเรียนระดับมัธยมศึกษา 100,000 ตัว

  29. การตั้งงบประมาณปี 2556 • ก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารเรียนสิ่งก่อสร้าง และสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ • ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนที่โครงสร้างชำรุด 26 โรง • ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนที่ชำรุดและทรุดโทรมตามอายุปี 1,200 หลัง • ก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมถนนและรางระบายน้ำในโรงเรียน 100 แห่ง • ก่อสร้างปรับปรุงรั้วและเขื่อนกันน้ำกันดินจากภัยธรรมชาติ 50 แห่ง

  30. การตั้งงบประมาณปี 2556 • ก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารเรียนสิ่งก่อสร้าง และสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ • ก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนและสิ่งก่อสร้างประกอบสำหรับโรงเรียนได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ 800 โรงเรียน • ปรับปรุงระบบไฟฟ้า 500 โรงเรียน 1,200,000 บาท และประปา 800 โรงเรียน

  31. การตั้งงบประมาณปี 2556 • ค่าปรับปรุงซ่อมแซมสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 42 สพม • ค่าก่อสร้างอาคารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 15 สพม

  32. สวัสดี

More Related