1 / 20

การบรรยาย เรื่อง

การบรรยาย เรื่อง “ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. 2551 และการจัดตำแหน่งตามระบบจำแนกตำแหน่งใหม่” โดย นายนนทิกร กาญจ นะจิตรา ที่ปรึกษาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ. วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ณ หอสุขุมนัย ประดิษฐ สำนักงาน ก.พ. จังหวัดนนทบุรี.

Télécharger la présentation

การบรรยาย เรื่อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยาย เรื่อง “ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 และการจัดตำแหน่งตามระบบจำแนกตำแหน่งใหม่” โดย นายนนทิกร กาญจนะจิตรา ที่ปรึกษาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ. วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ณ หอสุขุมนัยประดิษฐ สำนักงาน ก.พ. จังหวัดนนทบุรี

  2. การปรับระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนการปรับระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน 2535 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน 2551 • จำแนกเป็น 11 ระดับ ตามมาตรฐาน • กลาง (Common Level) • กำหนดสายงานจำนวนกว่า 400 สายงาน • เน้นความชำนาญเฉพาะของสายอาชีพ • (Specialization) • บัญชีเงินเดือนเดียวสำหรับทุกตำแหน่ง • บัญชีเงินเดือนเป็นแบบ “ขั้น” • การกำหนดตำแหน่งเป็นหน้าที่ของ ก.พ. • จัดกลุ่มประเภทตำแหน่ง • ตามลักษณะงานเป็น 4 กลุ่ม • เน้นความสามารถของบุคคล • แนวคิด “บริหารผลงาน” • (Performance Management) • บัญชีเงินเดือนแยกตามประเภท • ตำแหน่ง • บัญชีเงินเดือนเป็นแบบ “ช่วง” • การกำหนดตำแหน่งเป็นหน้าที่ของ • กระทรวง (โดย อ.ก.พ.ฯ กระทรวง) 2

  3. ระบบการจำแนกตำแหน่ง : เปรียบเทียบโครงสร้างตำแหน่ง ปัจจุบัน ใหม่ ระดับสูง (C10, C11บส.เดิม) หน.สรก. ระดับต้น (ระดับ 9 เดิม) บส. รองหน.สรก. ระดับทรงคุณวุฒิ(C10, C11 เดิม) วช/ชช ระดับ 11 (บส/ชช/วช) ระดับสูง (C9 บส.เดิม) ผอ.สำนัก/เทียบเท่า ระดับทักษะพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ(C9 เดิม) วช/ชช ระดับ 10 (บส/ชช/วช) ระดับ 9 (บส/ชช/วช) ระดับชำนาญพิเศษ (C8เดิม) ว/วช ระดับต้น (C8บก.เดิม) ผอ.กองหรือเทียบเท่า ระดับ 8 (บก/ว/วช) ระดับอาวุโส (C7, C8 เดิม) ระดับชำนาญการ(C6, C7 เดิม) ว/วช ระดับ 7 (ว/วช) ระดับชำนาญงาน(C5, C6 เดิม) ระดับปฏิบัติการ(C3-C5 เดิม) ระดับ 3-5/6ว ระดับ 2-4/5/6 ระดับ 1-3/4/5 ระดับปฏิบัติงาน(C1-C4 เดิม) บริหาร อำนวยการ วิชาการ ทั่วไป 3

  4. ปลัดกระทรวง, รองปลัดกระทรวง, อธิบดี, ผู้ว่าราชการจังหวัด, เอกอัครราชทูต, ผู้ตรวจราชการ ระดับกระทรวง, หรือเทียบเท่า บริหารระดับสูง ตำแหน่งรองอธิบดี, รองผู้ว่าราชการจังหวัด, หรือเทียบเท่า บริหารระดับต้น ระบบการจำแนกตำแหน่ง : ประเภทบริหาร • สายงานในประเภทบริหาร • นักบริหาร • นักการทูต • นักปกครอง • ผู้ตรวจราชการ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับต้น ตำแหน่งประเภทบริหาร หมายถึง ตำแหน่งในฐานะผู้บริหารของส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และในต่างประเทศ จำแนกเป็น ๒ ระดับ 4

  5. ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีการจัดการ ซึ่งเป็นงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ โดยเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่รองจากหัวหน้าส่วนราชการ ๑ ระดับ อำนวยการระดับสูง ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีการจัดการ ซึ่งเป็นงานมีหน้าที่ความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพของงานสูงมาก โดยเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่รองจากหัวหน้าส่วนราชการ ๑ หรือ ๒ ระดับ อำนวยการระดับต้น ระบบการจำแนกตำแหน่ง : ประเภทอำนวยการ ผู้อำนวยการระดับสูง ผู้อำนวยการระดับต้น ตำแหน่งประเภทอำนวยการ หมายถึง ตำแหน่งในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับต่ำกว่าระดับกรมที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ จำแนกเป็น 2 ระดับ 5 5

  6. ระบบการจำแนกตำแหน่ง : ประเภทวิชาการ วิชาการ วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญและได้รับ การยอมรับ เชี่ยวชาญด้านวิชาการ ระดับกระทรวง ระดับทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญใน งานสูงมาก เชี่ยวชาญด้านวิชาการ ระดับกรม ระดับเชี่ยวชาญ หัวหน้าหน่วยงาน วิชาการขนาดใหญ่ ปฏิบัติงานวิชาการ (รอบรู้ ชำนาญงาน งานที่ยากซับซ้อน) ชำนาญการ ในงานวิชาชีพสูงมาก ระดับชำนาญการ พิเศษ หัวหน้าหน่วยงาน (งานวิชาการฯ) ปฏิบัติงานวิชาการ (มีประสบการณ์) ปฏิบัติงานวิชาชีพ (มีประสบการณ์) ระดับชำนาญการ ตำแหน่งแรกบรรจุ ระดับปฏิบัติการ 6 6

  7. ระบบการจำแนกตำแหน่ง : ประเภททั่วไป ทักษะพิเศษ ทักษะความ สามารถเฉพาะ (สูงมากเป็นพิเศษ) หัวหน้า หน่วยงาน ขนาดใหญ่ อาวุโส ทักษะความ สามารถเฉพาะ (สูงมาก) เทคนิค เฉพาะด้าน (สูงมาก) หัวหน้า หน่วยงาน ระดับต้น ชำนาญงาน บริการในสายงานหลัก(มีประสบการณ์) บริการ สนับสนุน (มีประสบการณ์) ทักษะความ สามารถเฉพาะ (มีประสบการณ์) เทคนิค เฉพาะด้าน (มีประสบการณ์) ปฏิบัติงาน ตำแหน่งแรกบรรจุ 7

  8. 66,480 การปรับปรุงโครงสร้างเงินเดือนและบัญชีเงินเดือน ใหม่ 66,480 59,770 59,770 เดิม 41,720 53,690 59,770 48,220 64,340 31,280 47,450 29,900 48,700 50,550 50,550 15,410 บริหาร 25,390 33,540 21,080 อำนวยการ 36,020 10,190 • บัญชีเงินเดือนแยกตาม • ประเภทตำแหน่ง • เน้นความสามารถบุคคล ควบคู่กับค่างาน • บัญชีเงินเดือนแบบช่วง 14,330 18,190 22,220 7,940 4,630 • บัญชีเงินเดือนเดียวสำหรับทุกลักษณะงาน • บัญชีเงินเดือน แบบขั้น วิชาการ 8 ทั่วไป

  9. การจัดตำแหน่งเดิมเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่การจัดตำแหน่งเดิมเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่ บริหาร วิชาการ ระดับสูง 53,690 – 66,480 (10-11) 66,480 11 วช/ชช บส ทรงคุณวุฒิ 11 (10-11) ระดับต้น 48,700 – 64,340 (9) 10 วช/ชช บส 41,720 อำนวยการ 59,770 เชี่ยวชาญ 9 วช/ชช บส บส ระดับสูง (9) 31,280 - 59,770 (9) 29,900 วช 25,390 – 50,550 (8) 8 บก ระดับต้น 50,550 7 (8) ทั่วไป วช ชำนาญการพิเศษ 59,770 21,080 ทักษะพิเศษ 6 (9) 36,020 48,220 (6-7) ชำนาญการ 5 47,450 14,330 อาวุโส (7-8) 4 22,220 ปฏิบัติการ (3-5) 15,410 3 7,940 33,540 ชำนาญงาน (5-6) 2 10,190 1 18,190 ปฏิบัติงาน (1-4) 4,630 9

  10. สัดส่วนข้าราชการจำแนกตามประเภทตำแหน่งสัดส่วนข้าราชการจำแนกตามประเภทตำแหน่ง ประเภทอำนวยการ4,760 คน ประเภทบริหาร 949 คน ประเภททั่วไป 131,993 คน ประเภทวิชาการ 224,607 คน รวม 362,309 คน ขัอมูล ณ วันที่ 30 ก.ย. 50 10 (แหล่งข้อมูล: คณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและขนาดกำลังคนภาครัฐ (คปร.) ปี 2550)

  11. การจัดตำแหน่งเดิมเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่ : ประเภทบริหาร ประเภทบริหาร ระดับ 11 ปลัดกระทรวง หรือ เทียบเท่า ระดับสูง (502 คน) ระดับ 10 รองปลัดกระทรวง/อธิบดี หรือ เทียบเท่า / ผู้ตรวจราชการกระทรวง ระดับต้น (447 คน) ระดับ 9 รองอธิบดี หรือ เทียบเท่า 11

  12. การจัดตำแหน่งเดิมเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่ : ประเภทอำนวยการ ประเภทอำนวยการ ระดับ 9 ผอ. สำนัก หรือ เทียบเท่า / ผู้ตรวจราชการกรม ระดับสูง (1,169 คน) ระดับ 8 ผอ. กอง หรือ เทียบเท่า ระดับต้น (3,591 คน) 12

  13. การจัดตำแหน่งเดิมเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่ : ประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ (164 คน) ระดับ 11 (วช./ชช.) ระดับ 10 (วช./ชช.) ระดับเชี่ยวชาญ (1,605 คน) ระดับ 9 (วช./ชช.) ระดับชำนาญการพิเศษ (19,115 คน) ระดับ 8 (ว/วช.) ระดับชำนาญการ (141,834 คน) ระดับ 7 (ว/วช.) ระดับ 6 (ว) ระดับ 5 ระดับปฏิบัติการ (61,889 คน) ระดับ 4 13 ระดับ 3

  14. การจัดตำแหน่งเดิมเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่ : ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (2,725 คน) ระดับ 8 ระดับ 7 ระดับชำนาญงาน (104,331คน) ระดับ 6 ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับปฏิบัติงาน (24,930คน) ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 14

  15. การรับเงินเดือนในช่วงปรับตำแหน่งเข้าระบบใหม่การรับเงินเดือนในช่วงปรับตำแหน่งเข้าระบบใหม่ กรณีตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 18,190 ............ ............ ............ 10,660 ............ ............ ............ 8,320 22,220 ............ ............ 13,400 ............ ............ ............ ............ 10,190 22,220 14,800 ............ ............ ............ ............ 8,500 ............ ............ 6,800 13,400 10,660 8,500 7,940 ระดับ 3 ระดับ 5 ระดับปฏิบัติการ ประเภทวิชาการ ระดับ 4 15

  16. การขึ้นเงินเดือนประจำปีเป็นเปอร์เซ็นต์การขึ้นเงินเดือนประจำปีเป็นเปอร์เซ็นต์ 22,220 ตัวอย่าง: กรณีผลการปฏิบัติงาน “ดีเด่น” • ผลการปฏิบัติงาน “ดีเด่น” • ได้ขึ้นเงินเดือนในอัตรา 10 % ของเงินเดือน • (13,400 + 1,340 = 14,740) 14,740 13,400 7,940 ระดับปฏิบัติการ ประเภทวิชาการ 16

  17. ขั้นตอนการจัดตำแหน่งและจัดคนเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่ขั้นตอนการจัดตำแหน่งและจัดคนเข้าโครงสร้างตำแหน่งใหม่ พ.ร.บ.ฯ ประกาศใช้ 26 ม.ค. 51 สกพ. + สรก. ดำเนินการจัดตำแหน่ง และจัดคนลง (มาตรา 131) ก.พ. ประกาศ บัญชีตำแหน่งตามประเภท สายงาน และระดับตำแหน่ง ผู้บังคับ บัญชาแต่งตั้งขรก.ดำรงตำแหน่งใหม่ (จัดคนลง) ภายใน 30 วันนับจากประกาศ ก.พ. ฯ ภายใน 25 ม.ค. 52 17

  18. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • ประเภทตำแหน่ง ...................... • ชื่อสายงาน .............................. • ชื่อตำแหน่ง .............................. • หน้าที่ความรับผิดชอบ • ด้าน.............. • 1.1................................................ • 1.2 ........................................................ • ด้าน............... • 2.1 ............................................... • 2.2................................................ • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • คุณวุฒิที่ต้องการ • ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง • ประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้อง • คุณสมบัติอื่นที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง • ความรู้ ความสามารถที่จำเป็น • ทักษะที่จำเป็น • สมรรถนะที่จำเป็น 18

  19. การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ อนาคต ปัจจุบัน • สายงานมีความหลากหลาย • ค่อนข้างมาก (กว่า 400 สายงาน) • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ • และคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ • ตำแหน่งชัดเจนมาก ทำให้ขาด • คล่องตัวในการบริหาร “คน” • มุ่งเน้นความชำนาญในสายอาชีพ • (specialization) • ก.พ. บริหารจัดการทุกสายงาน • เพิ่มความคล่องตัวในการบริหาร “คน” • (สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ ฯลฯ) • ปรับปรุงสายงานให้เหมาะสม (จำนวน • สายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ และ คุณสมบัติ • เฉพาะสำหรับตำแหน่ง) • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้กว้างขึ้น • เน้นบทบาท(role) ในการปฏิบัติงาน • สอดคล้องกับแนวคิด “คนสร้างงาน” และ • knowledgeworkers • กำหนดวุฒิการศึกษากว้างขึ้น ให้ สรก. • พิจารณาให้เหมาะสมกับตำแหน่งและการแต่งตั้ง • ก.พ. บริหารจัดการเฉพาะสายงานกลาง • (service-wide) 19

  20. ขั้นตอนการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ขั้นตอนการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ พ.ร.บ.ฯ ประกาศ ใช้ 26 ม.ค. 51 (ยกเว้นลักษณะ 4) สกพ. + สรก. ร่วมจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (บทเฉพาะกาล ม. 131) จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเสร็จ พ.ร.บ. มีผลบังคับใช้ ทั้งฉบับ ภายใน 1 ปี นับจาก 26 ม.ค. 51 20

More Related