1 / 80

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม. วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรม เอสดี อเวนิว. แนะนำตัว : ชื่อ ชื่อเล่น โรงเรียน/หน่วยงาน จังหวัด วิชา ที่สอน ความเป็นวัยรุ่นที่มีอยู่. รู้จักกัน. ครอบครัวศึกษา/ทักษะชีวิต III พลศึกษา II พิมพ์ดีด

Télécharger la présentation

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ :การเตรียมความพร้อมครูระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม วันที่ ๑- ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว

  2. แนะนำตัว: ชื่อ ชื่อเล่น โรงเรียน/หน่วยงาน จังหวัด วิชาที่สอนความเป็นวัยรุ่นที่มีอยู่

  3. รู้จักกัน • ครอบครัวศึกษา/ทักษะชีวิต III • พลศึกษา II • พิมพ์ดีด • คอมพิวเตอร์ III • การตลาด II • การบัญชี/ ธุรกิจ II • ลีลาศ II • มารยาท / มารยาทและการสมาคม • การเงิน/เศรษฐศาสตร์ • สอนทุกวิชา • กิจกรรม • เทคโนโลยียานยนต์ • กิจกรรมนักศึกษา II • ผู้ช่วยฝ่ายกิจกรรมฯ • รองฝ่ายวิชาการ II • ผู้ช่วย/รองผู้อำนวยการ IIIIII • ผู้ช่วยฝ่ายจริยธรรม • หัวหน้าแผนกช่างยนต์ • หัวหน้าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ • งานปกครอง IIII • ประชาสัมพันธ์ / งานแนะแนว III • ดูแลเงินกู้

  4. ความเป็นวัยรุ่น • ชอบ Dance • เที่ยวผับ • ชอบกีฬา • มีความเป็นกันเอง II • เล่นfacebookIII • เป็นเพื่อนกับวยรุ่น • ชอบความสนุกสนาน II • ชอบพูดคุยกับเด็ก • สุมหัวเที่ยวกับเด็ก • ชอบท่องเที่ยว • ชอบเล่นกีฬาII • หัวใจซิ่ง • สนใจดนตรี II • เด็กชอบมาปรึกษา • ชอบร้องเพลง III • มีความทันสมัยเพื่อคุยกับเด็ก • ชอบกิจกรรม • โย่ๆๆ • อายุต่างกับเด็กเล้กน้อย • หน้าตา/ นิสัย

  5. ความคาดหวัง ๔ วันนี้หากไม่มาอบรม คุณต้องทำอะไร ความคาดหวังในการอบรมครั้งนี้ คือ....

  6. สิ่งที่ต้องทิ้งมา.... • ทำใบ รบ. • แนะแนวหาเด็ก • ซ้อมฟุตบอล • การประเมินมาตรฐานของ สมศ. • รับสมัครนักเรียน • เตรียมงานสอนภาคฤดูร้อน • การดูแลคุณแม่ • ดูแลครอบครัว (ลูก) • ห่างแฟน • เลี้ยงไก่ • ธุรกิจส่วนตัว • ความสุขในเวลาว่าง

  7. ความคาดหวัง • นำความรู้และทักษะไปสู่นักเรียน • ให้คำปรึกษากับเด็ก • สิ่งที่เรียนรู้ใช้กับตัวเอง? • เปลี่ยนความคิดให้เด็กรักตัวเอง • การนำไปใช้กับเด็กได้จริง • ไม่อยากให้เด็กทำแท้งมากขึ้น • อยากลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น • ความสุข

  8. (ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน

  9. กระบวนการเรียนรู้ กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผู้จัดการเรียนรู้เพศศึกษา เยาวชน บริบททางสังคมวัฒนธรรม แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) เพศวิถีSexuality + ฝึกปฏิบัติ แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

  10. Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

  11. ข้อตกลงร่วมกัน • ตรงต่อเวลา • แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน • ให้ความร่วมมือร่วมกัน (ร่วมคิด, ร่วมใจ) • กล้าแสดงออก • เปิดใจ • มีความเป็นกันเอง • กระชับเวลาร่วมกัน

  12. “การให้ผู้เรียนได้บอกความคาดหวังในการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญเพราะผู้เรียนไม่ได้เป็นผู้กำหนดวัตถุประสงค์และออกแบบกิจกรรม จึงควรพูดคุย แนะนำวัตถุประสงค์ กำหนดการขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม • เพื่อเชื่อมโยงในสิ่งที่ผู้เรียนคาดหวังที่จะได้เรียนรู้กับเนื้อหาของการอบรม • และสามารถเห็นบทบาทของตนเองที่จะมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการเรียนรู้”

  13. กิจกรรม: สถานี “รู้เขารู้เรา”

  14. สถานี “รู้เขารู้เรา” คำถาม: ๑. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือ • เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้แก่... • เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใคร หรือที่ใด ๔. สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยาง คือ... ๕. เป้าหมายในการทำงานกับวัยรุ่นเรื่องเพศในสถานศึกษา คือ ๖. เรื่องที่ท้าทายในการทำงานกับวัยรุ่นเรื่องเพศในสถานศึกษา คือ

  15. แบ่งกลุ่ม ๖ สถานีเพื่อ... • สรุปประเด็นสำคัญที่พบ • แสดงความคิดเห็นต่อคำตอบที่มี

  16. ๑. วิถีชีวิต/พฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เราเป็นห่วง • การแต่งตัว • การเที่ยวเธค ผับ • การใช้ยาเสพติด • การมีเพศสัมพันธ์กับเพื่อน • การท้องก่อนวัย • การทำแท้ง • การทำแต้ม ผลที่ตามมา • ปัญหาครอบครัว (ทะเลาะกันพ่อแม่กับลูก) • ปัญหาสังคม • เรื่องการศึกษาของเด็ก • การเป็นแม่วัยรุ่น (หน้าที่การงาน, ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู, ความพร้อม) สาเหตุ • ขาดความอบอุ่น • การหย่าร้างของครอบครัว

  17. ๒.เรื่องเพศที่วัยรุ่นสนใจ คือ... • การมีเพศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน • การหลั่งข้างนอก • ท่าการมีเพศสัมพันธ์ • ยาคุมฉุกเฉิน • การถึงจุดสุดยอด • วิธีการใช้ถุงยาง (ชาย/หญิง) ที่ถูกต้อง สาเหตุที่วัยรุ่นสนใจ.... • จากสื่อเทคโนโลยีมีมากขึ้น

  18. ๓. แหล่งเรียนรู้เรื่องเพศ • สื่อ เช่น อินเทอร์เน็ต วีซีดี คลิป หนังสือ • ห้องสมุด • เลียนแบบดารา • พ่อแม่ • ครู เรียนรู้จากผู้ใหญ่น้อย

  19. Sexy and Safe ? สื่อ/สื่อกระตุ้นอารมณ์เซ็กส์ซี่แต่ไม่ปลอดภัย สื่อสุขศึกษา/รณรงค์ปลอดภัยแต่ไม่เซ็กส์ซี่

  20. ๔. สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์ไม่ใช้ถุงยาง • อารมณ์พาไป • ความเชื่อผิดๆ เช่นไม่แนบเนื้อ ไม่ธรรมชาติ • เชื่อใจ มั่นใจ ไม่ใช้ถุงยาง ไม่ใช่เพราะไม่มีความรู้

  21. ๕.เป้าหมายการทำงานเพศศึกษากับวัยรุ่น๕.เป้าหมายการทำงานเพศศึกษากับวัยรุ่น • การให้ความรู้ที่ถูกต้อง • มีศักดิ์ศรีและเห็นคุณค่าในตัวเอง เพื่อให้รักตัวเอง • การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า • การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสอดคล้องกับเด็ก • ทำให้วัยรุ่นกล้าพูดคุยกับครู • จัดกิจกรรมอะไรได้บ้าง เพื่อให้ถึงเป้าหมาย • อบรมปีละ ๒ ครั้ง ประมาณ ๕๐๐ คน • ต้องทำหลายๆ อย่าง แบบเป็นกันเอง • จัดวิทยากรจากสาธารณสุข

  22. ๖.ความท้าทายในการทำงานเรื่องเพศกับวัยรุ่น๖.ความท้าทายในการทำงานเรื่องเพศกับวัยรุ่น ตัวเด็ก • ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ • เรื่องเพศสัมพันธ์เกิดขึ้นเร็ว ครู • ขาดการแนะนำกับเด็ก • การสร้างความตระหนักในเรื่องเพศกับวัยรุ่น ครอบครัว • การให้ความอบอุ่นในครอบครัว ชุมชน/ผู้บริหาร เกี่ยวข้องด้วย การแก้สถานการณ์ต้องรีบแก้ให้ทันสถานการณ์

  23. สถานี “รู้เขารู้เรา” คำถาม: ๑. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่คุณรู้สึกเป็นห่วง คือ... ๒. เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจได้แก่....... ๓. เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใครหรือที่ไหน ๔. สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย คือ... ๕. เป้าหมายของการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา คือ... ๖. ความท้าทายในการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาในสถานศึกษาคือ....

  24. ประโยชน์ที่ได้จากทั้ง ๖ สถานี • สร้างความตระหนักให้กับเด็กมากขึ้น • เห็นการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของเด็กมาเร็วขึ้น • กล้าสื่อสารกับเด็กมากขึ้น • สร้างความมั่นใจในการทำงานมากขึ้น • เห็นข้อจำกัดในการทำงานกับเด็ก • การเรียนรู้ร่วมกันกับเด็กไปด้วยกัน

  25. การค้นหาคำจาก www.google.com • เย็ด 1,040,000 • เอดส์846,000 • ช่วยตัวเอง 381,000 • ทำแท้ง 189,000 • ออรัลเซ็กส์ 131,000 • กามโรค 38,900 • ท้อง6,060,000 • หลั่งข้างนอก 3,720,000 • ประจำเดือน 2,370,000 • เพศสัมพันธ์ 1,720,000 • ถุงยาง 1,420,000 • หี 1,190,000 • ควย 1,090,000 ข้อมูลจากการค้นหาวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๓

  26. การค้นหาคำจาก www.google.com • เย็ด 1,040,000 / 12,800,000 • เอดส์ 846,000 / 3,390,000 • ช่วยตัวเอง 381,000 / 10,900,000 • ทำแท้ง 189,000 / 1,280,000 • ออรัลเซ็กส์ 131,000 / 960,000 • กามโรค 38,900 / 270,000 • ท้อง6,060,000 / 27,100,000 • หลั่งข้างนอก 3,720,000 / 129,000 • ประจำเดือน 2,370,000 / 7,910,000 • เพศสัมพันธ์ 1,720,000 / 3,290,000 • ถุงยาง 1,420,000 / 3,590,000 • หี 1,190,000 / 5,790,000 • ควย 1,090,000 / 6,820,000 ข้อมูลจากการค้นหาวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๓ / วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔

  27. สถานการณ์เอดส์โลก • ผู้ติดเชื้อรายใหม่ นาทีละ 10 คน • ตายนาทีละ 5 คน ประเทศไทย ติดเชื้อรายใหม่ ชั่วโมงละ 2 คน แหล่งข้อมูล : ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  28. สถานการณ์เอดส์อาเซียนสถานการณ์เอดส์อาเซียน

  29. สถานการณ์เอดส์ ประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 แหล่งข้อมูล : ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  30. จำนวนผู้ป่วยเอดส์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 แหล่งข้อมูล : ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  31. จำนวนผู้ป่วยเอดส์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 แหล่งข้อมูล : ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  32. จำนวนผู้ป่วยเอดส์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 แหล่งข้อมูล : ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  33. สิ่งที่ได้เรียนรู้/ประโยชน์จากกิจกรรม “สถานีรู้เขา รู้เรา” • ต

  34. เพศศึกษารอบด้าน • รู้จักอารมณ์ตนเอง + การจัดการ • ทักษะการประเมินสถานการณ์/การสื่อสาร • ความสัมพันธ์และการแสดงออก • ความรู้สึกหญิงชาย • ความรับผิดชอบ • ความเสี่ยง • ท้อง • เอดส์ • การหลีกเลี่ยงเพศสัมพันธ์ • ถุงยาง • เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย

  35. ความท้าทายของการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาความท้าทายของการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา ทันเหตุการณ์ เนื้อหา/วิธีการน่าสนใจ เจาะใจเด็ก คิดเป็น สังคม ปัจจัยเสี่ยง: สาเหตุของเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน วิถีชีวิตวัยรุ่น • พฤติกรรมทางเพศ • เรื่องเพศที่วัยรุ่นสนใจ • ช่องทางการเรียนรู้ ปัจจัยเสริม: วัยรุ่นจะมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย/รับผิดชอบ ถ้า...

  36. ทิศทางเพศศึกษาในสถานศึกษาคำตอบอยู่ที่ ... ? Act now! เราทุกคน..ลงมือทำ

  37. ระดมคำตอบใน ๖ สถานี จับกลุ่มวิเคราะห์ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) การนำไปใช้กับการเป็นผู้จัดการเรียนรู้เพศศึกษา Do/Experience ทำกิจกรรม/ มีประสบการณ์ร่วม สังเคราะห์ประเด็นสำคัญและข้อสังเกต Reflect สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ Apply ประยุกต์ใช้ Analyze/Synthesize คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป คำถามชวนคิดในแต่ละสถานี

  38. กิจกรรมที่ ๒ : เส้นชีวิต

  39. เมื่อพูดถึง “เพศ” คุณนึกถึง...

  40. เมื่อพูดถึงเพศ นึกถึง... • ชาย/หญิง เพศทางเลือก • การแต่งงาน • ความสวย/น่ารัก • หุ่นสรีระ รูปร่าง • ความสัมพันธ์ • การมีเพศสัมพันธ์ • ขนาด • อวัยวะเพศ • เมีย • สุขภาพ • การป้องกัน • ความต้องการทางเพศ • ลีลา ท่วงท่า • อายุ • บทบาทหน้าที่ของแต่ละเพศ • ฐานะทางสังคม • วุฒิภาวะ • กิ๊ก • เบี่ยงเบนทางเพศ • การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เรื่องเพศ มากกว่าการมีเพศสัมพันธ์

  41. เส้นชีวิต • กลุ่ม ๑ วัยเด็ก ๐-๙ ปี • กลุ่ม ๒ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี • กลุ่ม ๓ วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ ปี • กลุ่ม ๔วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี • กลุ่ม ๕ วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี • กลุ่ม ๖ วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป ระดมเรื่องเพศที่เกิดขึ้น หรือเกี่ยวข้องกับในแต่ละช่วงวัย

  42. สำรวจอวัยวะเพศ • อยากรู้ • เริ่มมีประจำเดือน • ไม่มีเพศสัมพันธ์ • แสดงออกเรื่องรัก • ช่วยตัวเอง • ฆ่าตัวตาย • ติดเพื่อน • ท้องไม่พร้อม • รู้ว่ารักเพศเดียวกัน • ผลิตอสุจิ • ทำแท้ง มีแฟนคนแรก • มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก ไม่ป้องกัน • ดูหนังโป๊ เลียนแบบ • ติดโรค • อุปกรณ์ • ตรวจเลือด • กังวลเรื่องขนาด • เปลี่ยนคู่ วัยเด็ก ๐-๙ ปี วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี • หมดความสนใจเรื่องเพศ • ล่วงละเมิดทางเพศ • หด เหี่ยว หมดอารมณ์ • ตัณหากลับ • ล่วงละเมิดทางเพศ • มีกิ๊ก - ต้องการทางเพศสูง • ความมั่นคง - เปลี่ยนคู่ • มีลูก - สร้างแรงดึงดูดทางเพศ • เริ่มสร้างครอบครัว • มีพลัง - ทำศัลยกรรม • หย่าร้าง - รักสนุก • พัฒนาตนเอง • เป็นผู้นำสูง • ครอบครัวมั่นคง • มีกิ๊ก • หมดประจำเดือน

  43. เรื่องเพศคือส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตตั้งแต่เกิดจนตายและมีพัฒนาการของแต่ละช่วงวัย (ธรรมชาติ) • “เรื่องเพศ” มีความหมายมากกว่า “เพศสัมพันธ์” แต่เพศสัมพันธ์ เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเพศ • สังคม/วัฒนธรรมมีส่วนในการกำหนดบทบาท ความคาดหวัง ในเรื่องเพศของ คนในแต่ละช่วงวัย และแต่ละเพศ • เป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องจัดการเรียนรู้เรื่องเพศซึ่งเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต

  44. Sexuality เพศวิถี • ค่านิยม บรรทัดฐานและระบบวิธีคิด วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับคู่รัก คู่ชีวิตในอุดมคติ ซึ่งมิใช่พฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่เป็นการสร้างความหมายทางสังคม • เพศวิถีจึงสัมพันธ์กับมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่กำหนดและสร้างความหมายให้แก่เรื่องเพศในทุกแง่มุม • เพศวิถีจึงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และมีความเชื่อมโยงกับ “ภาวะความเป็นหญิง หรือชายของผู้คนตามที่สังคมคาดหวัง” หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า “เพศสภาวะ” (Gender)

  45. แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา”, กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

  46. ๑.พัฒนาการของมนุษย์ ๑) สรีระร่างกายที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ ๒) การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ๓) การสืบพันธุ์ ๔) ภาพลักษณ์ต่อร่างกาย ๕) รสนิยมทางเพศ ๖) ตัวตนทางเพศ

  47. ๒.สัมพันธภาพ ๑) ครอบครัว ๒) มิตรภาพ ๓) ความรัก ๔) การคบกันและการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ๕) การแต่งงานและการใช้ชีวิตร่วมกัน ๖) การเลี้ยงดูลูก

  48. ๓.ทักษะส่วนบุคคล ๑) การให้คุณค่า ๒) การตัดสินใจ ๓) การสื่อสาร ๔) การยืนยันสิ่งที่ต้องการ ๕) การต่อรอง ๖) การหาความช่วยเหลือ

  49. ๔.พฤติกรรมทางเพศ ๑) เพศวิถีตลอดช่วงชีวิต ๒) การช่วยตนเอง ๓) การแสดงออกในเรื่องพฤติกรรมทางเพศต่อกัน ๔) การละเว้นเพศสัมพันธ์ ๕) การตอบสนองทางเพศของมนุษย์ ๖) จินตนาการทางเพศ ๗) การเสื่อมสภาพทางเพศ

  50. ๕.สุขภาพทางเพศ ๑) อนามัยเจริญพันธุ์ ๒) การคุมกำเนิด ๓) การตั้งท้อง และการดูแลระหว่างตั้งท้อง ๔) การทำแท้ง ๕) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ๖) เอชไอวี และเอดส์ ๗) การล่วงละเมิด ความรุนแรง การล่วงเกินทางเพศ

More Related