1 / 24

นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?

นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?. รองศาสตราจารย์ น.สพ. ดร. ทวีศักดิ์ ส่งเสริม คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม 73140 089-8343536 fvettss@ku.ac.th. โรคนิวคาสเซิล แบ่งตามความรุนแรงของการเกิดโรค ได้ 3 กลุ่มใหญ่. ก่อ โรครุนแรง น้อย ( Lentogenic strain)

tokala
Télécharger la présentation

นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว? รองศาสตราจารย์ น.สพ. ดร. ทวีศักดิ์ ส่งเสริม คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม 73140 089-8343536 fvettss@ku.ac.th

  2. โรคนิวคาสเซิล แบ่งตามความรุนแรงของการเกิดโรค ได้ 3 กลุ่มใหญ่ • ก่อโรครุนแรงน้อย • (Lentogenic strain) • 2. ก่อโรครุนแรงปานกลาง ตายน้อย รอยโรคอาจเห็นไม่ชัดเจน • (Mesogenic strain) • 3. ก่อโรครุนแรงมาก ตายมาก พบรอยโรคชัดเจน • (Velogenic strain)

  3. HN F วิธีการที่เชื้อไวรัสนิวคาสเซิลติดเข้าไปในเซลล์ไก่ (http:www.nist.gov/mml/ceramics/functional_properties.cfm)

  4. นิวคาสเซิล ในไก่พื้นเมือง ส่วนใหญ่มักจะป่วยและตายอย่างรวดเร็วภายใน 4-5 วันหลังมีการติดเชื้อในฝูง เชื้อระบาดค่อนข้างรวดเร็วและเป็นวงกว้าง ตายเกือบทั้งหมดฝูง หากไม่มีภูมิคุ้มกันต่อต้านโรคนี้มาก่อน

  5. นิวคาสเซิล ในไก่เนื้อ เกิดแบบเฉียบพลันและแพร่กระจายตัวได้เร็วมาก อัตราการป่วยและตายขึ้นอยู่กับภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคในตัวไก่ (ในไก่เนื้อทั่วไปที่เคยได้รับวัคซีน เสียหายประมาณร้อยละ 10-40.

  6. นิวคาสเซิล ในไก่ไข่ โดยทั่วไป อาการป่วยและตายจะพบได้น้อยกว่าไก่เนื้อ โดยเฉพาะในฝูงที่ได้รับวัคซีนมาพอสมควรและต่อเนื่องและมีภูมิคุ้มกันเฉลี่ยทั่วไปในระดับดี มีผลกระทบต่อผลผลิตไข่และคุณภาพของไข่และเปลือกไข่ เป็นบริเวณกว้าง

  7. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคในฟาร์มปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคในฟาร์ม ระดับภูมิคุ้มกันส่วนใหญ่มีระดับสูง เสียหายน้อย ภูมิคุ้มกันในฝูงไก่ไม่สม่ำเสมอกันทั้งฝูง ระดับภูมิคุ้มกันส่วนใหญ่มีระดับต่ำ เสียหายมาก เชื้อโรคเข้ามาในฟาร์ม

  8. ให้ (ทำ) วัคซีนไก่ เพื่ออะไร?

  9. ? อะไรคือสาเหตุทำให้ ภูมิคุ้มกันไม่สม่ำเสมอในฝูงไก่และมีระดับต่ำไม่เพียงพอต่อการต้านทานโรค ? ? ? ?

  10. แนวทางการแก้ไขและฟื้นฟูผลผลิตไข่ไก่แนวทางการแก้ไขและฟื้นฟูผลผลิตไข่ไก่ จากปัญหานิวคาสเซิล การปฏิบัติระหว่างการติดเชื้อและป่วย แนวทางการฟื้นฟูสุขภาพไก่ การติดตามระบบภูมิคุ้มกันของฝูงไก่สม่ำเสมอ ปรับปรุงระบบการป้องกันโรค

  11. พึงระลึกเสมอว่า • ระบบป้องกันโรค สำคัญมาเป็นอันดับหนึ่ง • วัคซีนเป็นเครื่องมือในการลดความเสียหาย หากระบบการ • ป้องกันโรคทำได้ไม่ดีพอ • วัคซีนไม่ได้ป้องกันการติดเชื้อ แต่กระตุ้นให้เกิดการสร้าง • ภูมิคุ้มกันเพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนและแพร่ของเชื้อใน • ร่างกายไก่ หากเชื้อเพิ่มจำนวนได้จนทำให้อวัยวะเสียหายและ • ไก่ฟื้นตัวไม่ได้ ไก่จะป่วยและตาย • ปัจจัยหลักคือ ทำทุกวิถีทางไม่ให้เชื้อโรคเข้ามาในฟาร์มได้ • และพยายามให้ไก่มีภูมิคุ้มกันเพียงพอที่จะต้านทานโรคได้

  12. ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายบันดาล ให้ทุกคนมีความสุข ความเจริญทั่วหน้ากัน

More Related