1 / 23

กรอบการติดตามประเมินผล “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง”

กรอบการติดตามประเมินผล “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง”. CHARNCHAI PINMUANG-NGAM MD,MHS Director Of HPC 8. 1. วัตถุประสงค์. เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค ตลอดจนผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ตามความจริง. เพื่อวิเคราะห์ ศักยภาพ การดำเนินงานของจังหวัดและหน่วยปฏิบัติ

tommy
Télécharger la présentation

กรอบการติดตามประเมินผล “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบการติดตามประเมินผล “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” CHARNCHAI PINMUANG-NGAM MD,MHS Director Of HPC 8

  2. 1 วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค ตลอดจนผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามความจริง เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพการดำเนินงานของจังหวัดและหน่วยปฏิบัติ ความจำเป็นต่อการพัฒนาและปัญหาอุปสรรคในพื้นที่ 2 5

  3. การติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพต้องมีการวางแผนที่ดีการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพต้องมีการวางแผนที่ดี • ควรมีการวางแผนร่วมกันของทีมก่อนออกประเมิน • ศึกษาโครงการที่จะออกประเมิน • กำหนดหัวข้อประเมิน (พิจารณาจาก Project Cycle )

  4. B C A D E F Framework for M&E of the Project Implementation Process Built-In M&E Monitor Evaluation Project Preparation Input Implementation Out put Out come Impacts Design New project External M&E

  5. A Project Preparation • การวิเคราะห์สภาพปัญหา 1.1 การประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์ข้อมูลระบาดวิทยา เช่น (ตัวอย่าง)

  6. (ตัวอย่าง) ตัวชี้วัดที่มีการเฝ้าระวัง ติดตามกำกับที่มีในปัจจุบัน (โรคไม่ติดต่อ)

  7. (ตัวอย่าง) 1.2 การวิเคราะห์สาเหตุและข้อมูลพฤติกรรม ตัวชี้วัดที่มีการเฝ้าระวัง ติดตาม กำกับที่มีในปัจจุบัน (พฤติกรรมเสี่ยง)

  8. 1.3 การนำข้อมูลอื่นในระบบมาใช้ประโยชน์ - ข้อมูลเฝ้าระวังสถานะสุขภาพระดับจังหวัด , เขต - นโยบายสุขภาพระดับจังหวัด - ข้อมูลการสำรวจปัจจัยกำหนดทางเศรษฐกิจ , สังคม และ สิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ - โครงสร้างประชากร- ปัจจัยเอื้อต่อพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น สถานที่ออกกำลังกาย นโยบายปลูกผักปลอดสารพิษ - การประเมินภาวะเครียดและซึมเศร้า ในกลุ่มเสี่ยงและป่วย

  9. 2.1 การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการทำแผน- การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา- การกำหนดเป้าหมายร่วม- การบูรณาการแผนและงบประมาณ- ระบุกลไกการทำงานร่วมกัน 2. การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนงาน

  10. 2.2 การแยกแยะกลุ่มเป้าหมายและจัดลำดับความสำคัญของปัญหา - การจำแนกตามกลุ่มระดับสุขภาพ เช่น กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย - การจำแนกตามกลุ่มอายุ เช่น วัยเรียน วัยทำงาน วัยสูงอายุ - การจำแนกตาม Setting เช่น โรงเรียน สถานประกอบการ - การจำแนกตามพื้นที่ เช่น ระดับอำเภอ เขต เมือง และชนบท - การจำแนกตามปัจจัยเสี่ยง เช่น อาหารเสี่ยงต่อสุขภาพ กลุ่มออกกำลังกายน้อย , กลุ่มอ้วน,กลุ่มบริโภคยาสูบ และแอลกอฮอล์

  11. ความสัมพันธ์ของปัจจัยเสี่ยงกับโรคไม่ติดต่อที่พบบ่อยความสัมพันธ์ของปัจจัยเสี่ยงกับโรคไม่ติดต่อที่พบบ่อย (ตัวอย่าง)

  12. 2.3 มาตรการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย

  13. B C Input + Implementation 3. การนำแผนสู่การปฏิบัติ 3.1 บทเรียนการดำเนินงานที่ผ่านมา หรือมีการศึกษาวิจัย ที่เชื่อถือได้ เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน อาหารที่ดีต่อสุขภาพ และออกกำลังกายสม่ำเสมอจะ สามารถป้องกันเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้ร้อยละ 80 (WHO) 3.2 การปฏิบัติที่แตกเป็นกิจกรรมของโครงการ

  14. (ตัวอย่าง) เช่น โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการ

  15. 3.3 มุมมองและความเข้าใจต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ของผู้ปฏิบัติ ประเมินโดย - การสัมภาษณ์ - ดูผลการวางแผนร่วมของภาคีในระดับพื้นที่ - ศึกษาการบริหารงบประมาณจากภาคีต่าง ๆ

  16. D Out putand Indicators 3.4 ประเมินผลผลิตหรือผลลัพธ์เปรียบเทียบกับเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ ของโครงการ - ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง เป็นโรคเบาหวานไม่เกินร้อยละ 5 - อัตราการเข้ารับรักษาตัว ในโรงพยาบาลลดลงร้อยละ 3 - อัตราการประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น

  17. 3.5 ปัญหา อุปสรรคของการปฏิบัติ - มีระยะเวลาในการทบทวนโครงการอย่างไร - มีการติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ - มีผลสรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข 3.6 การมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและภาคประชาชน - ภาคีเครือข่ายร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของชุมชม - มีแผนสุขภาพชุมชนและแผนยุทธศาสตร์จังหวัด - มีการคืนข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์ให้กับท้องถิ่น - มีการบูรณาการทรัพยากรจากภาคส่วนต่าง ๆ

  18. E Impacts ผลลัพธ์ ระยะสั้น - ร้อยละของประชากรตระหนักถึงประโยชน์ของ การรับประทานผักผลไม้ต่อสุขภาพ ระยะกลาง - ร้อยละของผู้ที่มีภาวะอ้วน น้ำหนักลดลง - ร้อยละของผู้ใหญ่ที่มาภาวะความดันโลหิตสูง

  19. F Design New project • การวิเคราะห์ผลผลิตของโครงการ- การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคระหว่างดำเนินโครงการ- การกำหนดเป้าหมายโครงการใหม่- การกำหนดกลยุทธ์ใหม่

  20. (ตัวอย่าง) กรอบแนวทางในการประเมินความก้าวหน้าโครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

  21. (ตัวอย่าง) กรอบแนวทางในการประเมินความก้าวหน้าโครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

  22. (ตัวอย่าง) กรอบแนวทางในการประเมินความก้าวหน้าโครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

  23. Thank You !

More Related