1 / 25

ทบทวน งานแมลง สคร. 8

ทบทวน งานแมลง สคร. 8. สถานการณ์โรค ไข้เลือดออก ทรงตัวอยู่ในระดับสูง มาลาเรีย เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ไข้ปวดข้อยุงลาย เข้ามาเป็นปัญหาใหม่. 2. สคร. 8 ทำอะไรในปีที่ผ่านมา

tracey
Télécharger la présentation

ทบทวน งานแมลง สคร. 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทบทวน งานแมลง สคร. 8

  2. สถานการณ์โรค • ไข้เลือดออก ทรงตัวอยู่ในระดับสูง • มาลาเรีย เพิ่มขึ้นเล็กน้อย • ไข้ปวดข้อยุงลาย เข้ามาเป็นปัญหาใหม่

  3. 2. สคร. 8 ทำอะไรในปีที่ผ่านมา ไข้เลือดออก พัฒนามาตรฐาน (ประชุม,ประเมิน) ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมโรค เครื่องพ่น/ดื้อยา เรียนรู้การสร้างความเข้มแข็งชุมชน พัฒนาเครือข่ายเขตเมือง (การตลาดเชิงสังคม) สนับสนุนการควบคุมโรคภาวะฉุกเฉิน เฝ้าระวังผู้ป่วยทางโทรฯ /รายหมู่บ้าน(ตาราง) ประกวดอำเภอดีเด่น ระดับจังหวัด/เขต(ผู้ตรวจ) มาลาเรีย ตรวจรักษาติดตามผู้ป่วย /พ่นสารเคมีตกค้าง ในพื้นที่แพร่เชื้อ อน.และ กพ. (เสริมด้วย G.F.) ไข้ปวดข้อยุงลาย สนับสนุนทีมพ่นสารเคมี

  4. 3. ผลลัพธ์ในปีที่ผ่านมา ไข้เลือดออก ทุกจังหวัดผ่านมาตรฐาน ปี 52 อัตราป่วยภาพรวมลดลง ร้อยละ 40 โรงพยาบาล CI= 0 ไม่ผ่าน เขตเมืองอัตราป่วยลดลงมาก การตลาดเชิงสังคม ทำให้ท้องถิ่นตื่นตัว มีอำเภออัตราป่วยสูงติด Top 5 ประเทศ มาลาเรีย นครสวรรค์สูง กว่าปีที่ผ่านมา 46:18 ราย ไข้ปวดข้อยุงลาย เป็นโรคอุบัติใหม่ในพื้นที่

  5. 4. สภาพปัญหา ไข้เลือดออก บางพื้นที่มีการระบาดสูงมาก สาเหตุของปัญหา คุณภาพการดำเนินงาน (ความเร็ว,ครอบคลุม,สารเคมีและเครื่องพ่น ) ความต่อเนื่องในการดำเนินงาน จนท./ปชช. ยังทำเอง โดย จนท/อสม

  6. 4. สภาพปัญหา มาลาเรีย นโยบายผสมผสานขาดความชัดเจน การรักษาผู้ป่วยใน รพ.ไม่เป็นไปตามแนวทางกรม. พื้นที่แพร่เชื้อ ของจังหวัดที่ผสมผสานแล้ว ยังขาดแผน/การปฏิบัติตามมาตรการควบคุมโรค ไข้ปวดข้อยุงลาย ระบบเฝ้าระวัง ยังล่าช้า (การเคลื่อนย้าย) เกิดการระบาดในเฉพาะพื้นที่ ที่มีสภาพ การควบคุมยุงพาหะยาก

  7. . โรคไข้เลือดออกในปี 53 วัตถุประสงค์ เพื่อลดอัตราป่วยให้ลดน้อยลง ตัวชี้วัดและเป้าหมาย จังหวัด 1. ลดอัตราป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของMedian 5 ปี 2. อัตราป่วยตายไม่เกินร้อยละ 0.13 3. โรงพยาบาลร้อยละ 80 มี CI = 0 4. ไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นภายหลัง 28 วัน นับจากพบผู้ป่วยรายแรกในชุมชน ไข้ปวดข้อยุงลาย ไม่มีการระบาดของโรคไข้ปวดข้อยุงลาย

  8. 5. ข้อเสนอ ไข้เลือดออก ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบงาน แผนปฏิบัติ/ประเมินผลต่อเนื่อง มาลาเรีย เตรียมผสมผสาน เรียนรู้ในพื้นที่แพร่เชื้อ จังหวัดที่ผสมผสานแล้วควรเน้นมาตรการควบคุมโรคในพื้นที่แพร่เชื้อ จังหวัดควรมียา พร้อมสนับสนุน รพ. ใช้ตามแนวทางการรักษามาลาเรียฯ ไข้ปวดข้อยุงลาย พัฒนาระบบ เฝ้าระวัง ควบคุมโรค เน้นให้ประชาชนป้องกันตนเอง

  9. 6. สคร. 8 ทำอะไรในปี 53 ไข้เลือดออก ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ นำหน้า ส่งเสริมการรักษามาตรฐานเชิงคุณภาพ (เน้นการนิเทศอำเภอพื้นที่เสี่ยง) ศูนย์เรียนรู้โรคติดต่อนำโดยแมลง สนับสนุนทีมควบคุมโรคในภาวะฉุกเฉิน เฝ้าระวังผู้ป่วยทางโทรรายหมู่บ้าน(ตาราง) มาลาเรีย ควบคุมคุณภาพ เตรียมผสมผสาน เรียนรู้ในพื้นที่แพร่เชื้อ ไข้ปวดข้อยุงลาย พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ประเมิน/สนับสนุนทีมควบคุมโรค

  10. ทำไมผ่านการประเมิน มาตรฐาน ฯแต่โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ไม่ลดลง

  11. ผลการประเมินจังหวัดเสี่ยง และอัตราป่วย ปี 51 เขตตรวจฯ ที่ 18

  12. การประเมิน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Why ……? โรคไข้เลือดออก จำนวนผู้ป่วยไม่ลดลง

  13. ข้อจำกัดการประเมินมาตรฐานฯข้อจำกัดการประเมินมาตรฐานฯ • วัตถุประสงค์ /เครื่องมือ ตัวมาตรฐาน เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ • เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน ร้อยละ 60 ขึ้นไป • กลุ่มตัวอย่าง สุ่มประเมินเพียงอำเภอละ 1 สอ. • แหล่งข้อมูลจากหลักฐานว่า มี/ได้ทำ

  14. เกณฑ์และตัวชี้วัดมาตรฐานงานป้องกันและควบคุมโรค1. มาตรฐานการควบคุมการระบาดตัวชี้วัดที่ 1 ความทันเวลาของการได้รับแจ้งเมื่อมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตัวชี้วัดที่ 2ความครบถ้วนของการสอบสวนผู้ป่วยรายแรก (Index case) ของทุกเหตุการณ์ 2. มาตรฐานการควบคุมพาหะนำโรคตัวชี้วัดที่ 3ความพร้อมของทีมควบคุมโรค ระดับอำเภอตัวชี้วัดที่ 4ความทันเวลาของการควบคุมแหล่งแพร่โรค ตัวชี้วัดที่ 5ความครอบคลุมในการควบคุมแหล่งแพร่โรค

  15. เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน • 0 = < ร้อยละ30 • 1 = ร้อยละ 30 - 49 • 2 = ร้อยละ 50 - 59 • 3 = ร้อยละ 60 - 69 • 4 = ร้อยละ 70 - 79 • 5 = ร้อยละ 80 ขึ้นไป

  16. ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกไม่ลดผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกไม่ลด การวินิจฉัย เมื่อมีผู้ป่วยสงสัย หรือป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก การกระจายของโรค ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการควบคุมโรค โรงพยาบาล โทรศัพท์/รง.506/507 24 ชั่วโมง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

  17. เกิดอะไรในเขต ความเหมาะสมด้านสภาพภูมิศาสตร์สถานการณ์โรค การดำเนินงานตามมาตรการลดโรคการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยง ความไวยุงพาหะต่อสารเคมี คุณภาพเครื่องพ่น คุณภาพคน

  18. ร้อยละโรงพยาบาลสังกัดสธ.มีค่า HI=0( ประเมินโรงพยายาบาลส่งเสริมสุขภาพ 52 ) 18.18% 81.43%

  19. ร้อยละของหมู่บ้านเกิด 2ndเทียบกับหมู่บ้านที่เกิดโรคจำแนกรายอำเภอจังหวัดนครสวรรค์ ปี พ.ศ.2551

  20. ความไวยุงลายต่อสารเคมีในพื้นที่เกิดโรคซ้ำซาก ปี 51 Kitiyaporn Manujum …

  21. ผลการตรวจวัดขนาดละอองสารเคมีจากเครื่องพ่นสารเคมีชนิดหมอกควันผลการตรวจวัดขนาดละอองสารเคมีจากเครื่องพ่นสารเคมีชนิดหมอกควัน และ ULVของจังหวัดนครสวรรค์ ปี 2551 > 50 VMD 45/175 คิดเป็นร้อยละ 25.72 20 - 50 VMD 59/175 คิดเป็นร้อยละ 33.71 < 20 VMD69/175 คิดเป็นร้อยละ 39.43 ไม่พบละอองสารเคมี 2/175 คิดเป็นร้อยละ 1.14 Kitiyaporn Manujum …

  22. จุดเด่นของ เขต 18 จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2551 ผู้บริหารระดับนโยบายให้ความสำคัญ มาตรการควบคุมโรค ของเขต ระบบเฝ้าระวัง เชิงรุกรายวัน/หมู่บ้าน สายด่วนทางโทรศัพท์ ระบบรายงาน Short From Report โอกาสการพัฒนา ความสามารถและจริง จัง ของเครือข่าย (พระเอก) การมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน ลดการใช้สารเคมี การประชาสัมพันธ์ เชิงคุณภาพ Kitiyaporn Manujum …

  23. ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8จังหวัดนครสวรรค์ นายแพทย์ชัยรัตน์ เตชะไชยศักดิ์

  24. ขอบคุณค่ะ

More Related