1 / 78

การปฏิบัติหน้าที่ ฝ่ายอำนวยการประสานงาน

การปฏิบัติหน้าที่ ฝ่ายอำนวยการประสานงาน. โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิ กองบัญชาการกองทัพไทย. คำถาม?. การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์. คนเก่าบันทึกไว้ เล่าสู่กันฟัง บรรยาย สอนเป็นหลักสูตร ไม่ต้องเริ่มจากศูนย์ ไม่ผิดซ้ำ พัฒนาต่อ ได้เร็ว. ประเภทของฝ่ายอำนวยการ.

trella
Télécharger la présentation

การปฏิบัติหน้าที่ ฝ่ายอำนวยการประสานงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิบัติหน้าที่ ฝ่ายอำนวยการประสานงาน โดย พลตรี เอนก แสงสุกผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย

  2. คำถาม? พ.อ.เอนก แสงสุก

  3. พ.อ.เอนก แสงสุก

  4. พ.อ.เอนก แสงสุก

  5. การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์การถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ • คนเก่าบันทึกไว้ เล่าสู่กันฟัง บรรยายสอนเป็นหลักสูตร • ไม่ต้องเริ่มจากศูนย์ ไม่ผิดซ้ำ พัฒนาต่อได้เร็ว

  6. ประเภทของฝ่ายอำนวยการประเภทของฝ่ายอำนวยการ 1. ฝ่ายอำนวยการประสานงาน 2. ฝ่ายกิจการพิเศษ3. ฝ่ายอำนวยการประจำตัว

  7. ลักษณะอันพึงประสงค์ของแผนก ฝอ. 1. ทำงานในหน้าที่ได้ทั้งหมด 2. ปฏิบัติงานได้ 24 ชม. 3. อ่อนตัวเมื่อประสบงานมาก4. ย้ายเข้าที่ตั้งใหม่โดยงานไม่ชะงัก

  8. ลักษณะอันพึงประสงค์ของ ฝอ. 1. มีความสามารถ และความสมัครใจ 2. รู้ภารกิจ การจัด ของหน่วย 3. อธิบาย นโยบาย คำสั่ง ของ ผบช. ได้4. ยึดความต้องการของ ผบช. มากกว่า ความเห็นส่วนตัว

  9. 5. กำกับดูแลการปฏิบัติของหน่วยรอง 6. รายงาน ผบช. ทุกเรื่อง 7. ทำให้หน่วยรองมีความเชื่อถือและ ยินดีต้อนรับเมื่อไปเยี่ยม8. สร้างบรรยากาศแห่งความร่วมมือ

  10. การสร้างความสัมพันธ์กับ ผบช. 1. เรียนรู้นิสัยของ ผบช. 2. ประจบด้วยงาน ไม่ประจบสอพลอ 3. ทำให้ความคิดของ ผบช. เป็นจริง4. ยกย่อง ผบช.5. ไม่มีเรื่องกับเพื่อนร่วมงาน

  11. 6. ไม่รบกวน ผบช. ในเรื่องเล็กน้อย 7. เข้าพบ ผบช. ในโอกาสอันควร8. ไม่นินทา ผบช.9. แสดงความขอบคุณเมื่อ ผบช. เมตตา 10. สรรเสริญคุณความดีของ ผบช. 11. ไม่บ่นลำบากต่อหน้า ผบช. 12. ประเมินตัวเองเสมอ

  12. เครื่องมือของฝ่ายอำนวยการเครื่องมือของฝ่ายอำนวยการ • คติเตือนใจ จุดมุ่งหมายในชีวิต* • ปากกา ดินสอ สมุดพก สมุดโน้ต สมุดแผนงาน กระดาษโน้ต แฟ้มแยกเรื่อง • เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

  13. พ.อ.เอนก แสงสุก

  14. พ.อ.เอนก แสงสุก

  15. เครื่องมือของฝ่ายอำนวยการเครื่องมือของฝ่ายอำนวยการ • คติเตือนใจ จุดมุ่งหมายในชีวิต* • ปากกา ดินสอ สมุดพก สมุดโน้ต สมุดแผนงาน กระดาษโน้ต แฟ้มแยกเรื่อง • เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง พ.อ.เอนก แสงสุก

  16. งานหลักของฝ่ายอำนวยการ * คิด * เขียน * พูด • จะทำได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับ * อ่าน * ฟัง * สรุป

  17. งานหลักของฝ่ายอำนวยการงานหลักของฝ่ายอำนวยการ • คิด - เขียน : งานร่างหนังสือ • คิด - พูด : การประชุม ผบช. เรียกพบ การประสานงาน • คิด - เขียน - พูด : บรรยายสรุป ร่างคำกล่าว

  18. ประสบการณ์ในการคิด • งานการคิด 3 แบบ * คิดเพื่อเขียน * คิดเพื่อพูด * คิดเพื่อทั้งเขียนและพูด • ทำใจก่อนคิด สวมวิญญานผู้นั้น

  19. การคิดเพื่อเขียน • ทำความรู้สึกเป็นผู้ลงนาม • ควรรู้อุปนิสัยของ ผบช. ที่จะลงนาม • อ่านข้อเสนอก่อน คิดข้อเสนอก่อน • ข้อเท็จจริง อาศัยข้อกำหนดของหน่วยเหนือ • ข้อพิจารณา ให้สอดคล้องกับข้อเสนอ • ข้อเสนอ ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร

  20. การคิดเพื่อพูด • วิเคราะห์ภารกิจ พูดในฐานะอะไร เพื่ออะไร • วิเคราะห์ผู้ฟัง • คิดเค้าโครงในใจ โน้ตย่อ • ศึกษาเอกสาร • คิดบทสรุป

  21. การคิดเพื่อทั้งเขียนและพูดการคิดเพื่อทั้งเขียนและพูด • วิเคราะห์ภารกิจ พูดในฐานะอะไร เพื่ออะไร • วิเคราะห์ผู้ฟัง • คิดเค้าโครงในใจ โน้ตย่อ • ศึกษาเอกสาร • คิดคำกล่าวนำและสรุป • คิดรูปแบบการทำแผ่นฉาย

  22. เทคนิคในการคิด • ทำสมาธิก่อนนอน ก่อนเริ่มคิด • ใช้กระดาษโน้ต จดบันทึกทันทีที่นึกได้

  23. ประสบการณ์ในการเขียน • งานการเขียน มีหลายแบบ* การร่างหนังสือ แก้หนังสือ* ข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ* สรุปนำเรียน คำกล่าว กำหนดการ* วาระการประชุม รายงานการประชุม

  24. ร่างระเบียบ - คำสั่ง หนังสือภายนอกแนวทางการประชุม เอกสารประกอบการประชุม/บรรยายสรุป บทบรรยายสรุป บทพาวเวอร์พ้อยท์ รปจ. กำหนดการฉบับเล็ก ผังที่นั่ง ป้ายตั้งโต๊ะ ฯลฯ

  25. บก.ทท. • ยึดถือปฏิบัติตามอนุมัติ ผบ.ทหารสูงสุด ลง 29 ต.ค.39 ท้ายหนังสือ ยก.ทหาร ที่ กห0304/1222 ลง 24 ต.ค.39 • และ ลง 25 ก.ย.51 ที่ กห0304/3275ลง 25 ก.ย.51

  26. อนุมัติ 3 รูปแบบ 1. ข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ 2. บันทึกความเห็น 5 แบบ 3. รายงานหรือเรื่องนำเรียนเพื่อทราบ

  27. ข้อพิจารณาของ ฝอ. 1. ปัญหา … 2. สมมุติฐาน … 3. ข้อเท็จจริง … 4. ข้อพิจารณา … 5. ข้อสรุป … 6. ข้อเสนอ ...

  28. รูปแบบเรื่องนำเรียนเพื่อทราบรูปแบบเรื่องนำเรียนเพื่อทราบ 1. ….… 2. ….… 3. ……. 4. …….

  29. ไม่เกิน 4 ข้อ • เพื่อทราบ หรือเสนอเล็กน้อย หรือต้องสั่งหน่วยรอง • ใช้ข้อเสนอของหน่วยเหนือเป็นข้อ 1ของเรา

  30. สรุปว่า ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไรทำไม • สรุปเรื่องหลายหน้าให้เหลือ 1 - 2 หน้า • ขยายเรื่อง 4 บรรทัดให้เป็น 1 หน้า • ติด TAB ใช้ปากกาเน้นข้อความช่วยทุ่นเวลา ผบช.

  31. บันทึกความเห็น 5 แบบ • แบบ 1 แบบสมบูรณ์ 4 หัวข้อ • แบบ 2 มี 4 ข้อ ต่างกันที่ข้อ 1 • แบบ 3 มี 4 ข้อ ต่างกันที่ข้อ 1, 2, 3 • แบบ 4 มี 3 ข้อ • แบบ 5 มี 2 ข้อ

  32. แบบที่ 1 1. ปัญหา ….. 2. ข้อเท็จจริง ….. 3. ข้อพิจารณา ….. 4. ข้อเสนอ …..

  33. แบบที่ 2 1. ..… (ปัญหา) ….. 2. ข้อเท็จจริง ….. 3. ข้อพิจารณา ….. 4. ข้อเสนอ …..

  34. แบบที่ 3 1. ….. (ปัญหา) ….. 2. ..… (ข้อเท็จจริง) ..… 3. ..… (ข้อพิจารณา) ….. 4. ข้อเสนอ …..

  35. แบบที่ 4 1. … (ปัญหา หรือปัญหา + ข้อเท็จจริง) 2. … (ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา หรือ ข้อพิจารณา) ….. 3. ข้อเสนอ …..

  36. แบบที่ 5 1. ….. (ปัญหา + ข้อเท็จจริง + ข้อพิจารณา) ….. 2. ข้อเสนอ …..

  37. ขั้นตอนการเขียน • เริ่มจากการคิดเพื่อเขียน • เอาตัวอย่างเรื่องเก่ามาดู • รวบรวมหลักฐานเอกสาร • เริ่มเขียน

  38. การเขียนปัญหา • มักใช้เฉพาะเลขข้อ เว้นกรณีที่ต้องการเน้นอาจใช้ 1. ปัญหา • สรุปความต้องการของหน่วยรอง ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร ทำไม

  39. การเขียนข้อเท็จจริง • ใช้ 2. ข้อเท็จจริง หรือ 2. ….. ก็ได้ • เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้ข้อย่อย ก็ได้ • เขียนเฉพาะข้อมูลที่ตรงประเด็น ให้สัมพันธ์กับข้อพิจารณา และข้อเสนอ • อ้างระเบียบ อนุมัติหลักการ การปฏิบัติที่ผ่านมา

  40. การเขียนข้อพิจารณา • ใช้ 3. ข้อพิจารณา หรือ 3. ….. ก็ได้ • เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้ข้อย่อย ก็ได้ • ใช้รูปแบบการเขียนให้สัมพันธ์กับข้อ 2 • พิจารณาเฉพาะประเด็นสำคัญ โน้มน้าว ไปสู่ข้อเสนอที่คิดไว้

  41. การเขียนข้อเสนอ • ใช้ 4. ข้อเสนอ เสมอ • เขียนข้อความต่อจากหัวข้อ หรือใช้ข้อย่อย ก็ได้ • ถ้ามี 2 ห/ป อาจต้องเสนอทั้ง 2 ห/ป • ถ้าเสนอให้มีหนังสือถึงหน่วยใด จะต้องร่างหนังสือถึงหน่วยนั้นแนบไปด้วย

  42. ต้องสวมบทผู้ลงนาม * ฉบับแรก เขียนในนาม ผอ.กอง * ฉบับสอง เขียนในนาม ผบ.หน่วย * ฉบับสาม เขียนในนาม ผบ.ทหารสูงสุด • ต้องเขียนได้ทุกบท

  43. การแก้ร่างหนังสือ • ควรแก้เพื่อให้ * ถูกต้อง (ถูกแบบ ถูกเนื้อหา ถูกหลักการ ถูกความนิยม) * ชัดเจน * รัดกุม * กะทัดรัด * บรรลุวัตถุประสงค์ * เป็นผลดี

  44. ศิลปะในการแก้ร่างหนังสือศิลปะในการแก้ร่างหนังสือ 1. รักษาน้ำใจผู้ร่าง 2. เห็นใจผู้พิมพ์ 3. ไม่ควรแก้ถ้าไม่จำเป็น4. แก้ให้อยู่กับร่องกับรอย5. แก้โดยมีหลักเกณฑ์

  45. ประสบการณ์ในการพูด • งานการพูด 4 - 5 รูปแบบ* การประสานงาน การพูดในที่ประชุม การพูดกับ ผบช. การพูดบรรยายสรุป การพูดกับลูกน้อง • การประสานงาน ยึดหลัก ไม่ใช้อารมณ์ พูดตามหลักการ เก็บความรู้สึกไม่ดี

  46. ให้เกียรติคู่สนทนา แบ่งให้เขาพูดบ้าง เป็น ฝอ. ต้องไม่สั่ง รักษาน้ำใจไมตรี • ประสานในระดับเดียวกันหรือต่ำกว่าก่อน • การพูดโต้ตอบในที่ประชุม เตรียมการได้ยึดหลัก พูดตามหลักการ เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ถามให้เกิดประโยชน์

  47. ไม่ถามให้ผู้อื่นเสียหาย ตอบเท่าที่รู้จริงตอบให้ตรงประเด็น ต้องรู้ใจประธาน • การพูดเมื่อ ผบช. เรียกพบ นึกทบทวนว่าเสนอเรื่องอะไร เตรียมข้อมูลติดมือถามหน้าห้อง เตรียมสมุดจด ตอบให้ตรงบันทึกสั่งการ ซักถามให้แน่ใจ

  48. การพูดบรรยายสรุป ยึดหลัก คิด/เขียนบทให้ดี เสนอให้ ผบช. เห็นชอบก่อนเตรียมเครื่องมือให้พร้อม เตรียมความรู้ในเรื่องที่พูด ซ้อมให้มั่นใจ มองประธานขณะพูด • การพูดกับลูกน้อง ยึดหลัก โคนันทวิศาลเพื่อนร่วมงาน ให้ทุกคนมีส่วนร่วม

  49. ปัญหาที่เคยประสบและวิธีแก้ไขปัญหาที่เคยประสบและวิธีแก้ไข • การประสานงานกับผู้อาวุโสกว่า • ถูกคัดค้านในที่ประชุม • ถูกบีบจาก ผบช. ที่ไม่มีคุณธรรม • หน่วยรองไม่พอใจที่เราแก้หนังสือเขา

  50. หลายสำนักงานกำหนดไม่เหมือนกันหลายสำนักงานกำหนดไม่เหมือนกัน • ผู้แทนหน่วยไม่มาประชุม • เรื่องที่ฉายบนจอไม่ตรงกับเรื่องที่พูด

More Related