1 / 26

โรคปลาสวยงาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนกันต์ จิตมนัส

โรคปลาสวยงาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนกันต์ จิตมนัส. วท.บ. (วาริชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ M.S. (Fisheries) Auburn University, AL, USA M.S. (Medical Microbiology) University of Georgia, GA, USA กำลังศึกษาปริญญาเอก สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

trinh
Télécharger la présentation

โรคปลาสวยงาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนกันต์ จิตมนัส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคปลาสวยงามผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนกันต์ จิตมนัส • วท.บ. (วาริชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ • M.S. (Fisheries) Auburn University, AL, USA • M.S. (Medical Microbiology) University of Georgia, GA, USA • กำลังศึกษาปริญญาเอก สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. เรียนปลาสวยงามเพื่ออะไรเรียนปลาสวยงามเพื่ออะไร • เพลิดเพลิน นันทนาการ ช่วยในการพัฒนา สภาพจิตใจของผู้จัด หรือผู้พบเห็น ให้เกิดความรู้สึกสดชื่น • ตกแต่งบ้าน ที่ทำงาน แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ช่วยให้พื้นที่และภายในตัวอาคารบ้านเรือนสวยงาม สดชื่น น่าอยู่อาศัย • โอกาสนำเชื้อโรคมาสู่ผู้เลี้ยงน้อย • ฝึกสร้างนิสัยอ่อนโยน โอบอ้อมอารี รู้จักชีวิตธรรมชาติที่ดี • ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ • เพื่อการประกวดแข่งขัน • เพิ่มรายได้ สร้างอาชีพ นำรายได้เข้าสู่ประเทศชาติ • มีตลาดรองรับหรือไม่ • ปรับเกรดสะสม รู้จักเพื่อนใหม่ • ทำไมปลาตาย

  3. ปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดโรคปลาปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดโรคปลา • แบคทีเรีย • ไวรัส • เชื้อรา • ปรสิต ชนิด พันธุกรรม อายุ เชื้อโรค ปลา สิ่งแวดล้อม คุณภาพน้ำ อาหาร สารพิษต่าง ๆ การตีอวนย้ายบ่อ การขนส่ง

  4. คุณสมบัติของน้ำที่เหมาะสมกับชนิดของปลาคุณสมบัติของน้ำที่เหมาะสมกับชนิดของปลา • อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสม • ปลาเขตร้อน ไม่ควรต่ำกว่า 25 oC • ไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของน้ำอย่างรวดเร็ว • ควบคุมไม่ให้เกิดการสะสมของแอมโมเนียในน้ำ • ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ • ปราศจากคลอรีนและสารพิษ

  5. มือใหม่โปรดระวังปลาเป็นโรคมือใหม่โปรดระวังปลาเป็นโรค • ปลาเป็นสัตว์เลือดเย็น • ศึกษาความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต • ควรมีความหนาแน่นของปลาต่อขนาดของตู้ปลาเท่าใด • ควรมีน้ำมากน้อยเพียงใด • ควรให้อาหารชนิดใดจึงจะเหมาะสม • แหล่งที่มาของปลา : แหล่งธรรมชาติ เพาะเลี้ยง ปรับปรุงพันธุ์ นำเข้า • การโยกย้ายปลาควรระมัดระวัง • ปลาอ่อนแอ ง่ายต่อการติดเชื้อ นำไปสู่การระบาดของโรค • ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่นำสัตว์น้ำพืชน้ำต้องห้าม มาเลี้ยง

  6. สิ่งที่ควรรู้ในการเลี้ยงปลาตู้สิ่งที่ควรรู้ในการเลี้ยงปลาตู้ • ธรรมชาติของปลาที่ต้องนำมาเลี้ยงในตู้ปลาแต่ละชนิด • ความเป็นอยู่และลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน

  7. ลักษณะของปลาที่เป็นโรคลักษณะของปลาที่เป็นโรค • การว่ายน้ำ การหายใจผิดปกติ • เซื่องซึม • กินอาหารน้อยลง ไม่กินอาหาร • สีสันผิดไปจากปกติ • ตกเลือดบริเวณผิวหนัง • ท้องบวม ตาโปน • ครีบและหางกร่อน • เกล็ดหลุด • มีเมือกมาก

  8. การป้องกันโรคเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงปลาสวยงามการป้องกันโรคเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงปลาสวยงาม • ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่สะอาด • คัดเลือกพันธุ์ปลาที่แข็งแรงปลอดโรค • ปล่อยปลาในจำนวนที่เหมาะสม • การสังเกตความผิดปกติของครีบ ตา ลำตัว • การเคลื่อนไหวในแต่ละวัน การรวมฝูงของปลา • ให้อาหารที่ดีมีคุณภาพ • สังเกตการกินอาหารของปลา • ทำความสะอาดตู้หรือบ่อเลี้ยงเป็นครั้งคราว • การใช้ยาและสารเคมี เมื่อมีการขนย้ายปลา มีบาดแผล • ใช้ Nitrifying bacteria กำจัดของเสียในตู้ปลา

  9. ข้อพึงปฏิบัติ • พันธุ์ปลาที่นำมาปล่อยควรมีการกักโรคก่อนอย่างน้อย 7 วัน อาจแช่ฟอร์มาลินในอัตราส่วน 25 มิลลิลิตรต่อน้ำ 1,000 ลิตร • ไม่ให้อาหารปลาหลังจากปล่อยปลาใหม่ ๆ เพราะการขนส่งและเปลี่ยนถ่ายน้ำใหม่ ทำให้ปลาเครียด • ทำความสะอาดอาหารมีชีวิต โดยการแช่ในด่างทับทิม 0.4 กรัม ต่อน้ำ 100 ลิตร นาน 10 นาที แล้วล้างน้ำสะอาดก่อนนำไปให้ปลา • ก่อนส่งปลาไปจำหน่าย ต้องให้ปลาอดอาหารประมาณ 1 วัน เพื่อป้องกันไม่ให้ปลาขับถ่ายของเสียลงถุงในปริมาณมาก

  10. โรคที่เกิดจากปรสิตภายนอกโรคที่เกิดจากปรสิตภายนอก • ทำให้เกิดรอยโรคที่ผิวหนังปลา ปลามีความสวยงามลดลง • ปลามีอาการคัน ว่ายน้ำเอาตัวถูตู้ วัสดุในบ่อหรือบ่อ • การติดเชื้ออย่างรุนแรง ทำให้ปลาป่วย สุขภาพอ่อนแอ ติดเชื้อแทรกซ้อนได้ง่าย

  11. เห็บระฆัง (Trichodina sp.) • รูปร่างคล้ายระฆัง ส่วนหลังโค้ง ส่วนล่างเว้าสำหรับเกาะติด • มีขนเรียงกัน (ciliate) เรียงขนานกัน 2 แถวใช้ในการเคลื่อนที่ spinning motion • ด้านในจะมีตะขอแบน ๆ เรียงซ้อนกัน ใช้สำหรับการเกาะบริเวณซี่เหงือกและผิวหนังของปลาทั่วไป • การระบาดจะเกิดในช่วงที่ปลาเครียดและคุณภาพน้ำที่แย่ลง

  12. Ich : Ichthyopthirius • ก่อให้เกิดโรคจุดขาว • พบในปลาเสือตอ ปลาตะพัด ปลาหางนกยูง ปลาบึก • ปรสิตที่สามารถมองเห็นได้ด้วย ตาเปล่า พบเป็นจุดขาวตามตัว • มักเกิดในช่วงหน้าหนาว ควรใช้เครื่องปรับอุณหภูมิช่วย • ฟอร์มาลิน 25-50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 1,000 ลิตร นาน 24 ชั่วโมง www.aquarium.net/0197/0197_1.shtml

  13. เห็บปลา • เกิดจากปรสิตชื่อ Argulus sp. ซึ่งมีลักษณะกลม ใส ขนาดประมาณ 5-7 มิลลิเมตร • สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า เกาะอยู่ตามลำตัว เหงือกและครีบปลา ทำให้ปลาเกิดบาดแผล • ปลาจะว่ายน้ำกระวนกระวาย ถูตัวกับผนังตู้ • พักปลาที่ขนส่งมาใหม่ ล้างตู้ให้สะอาด http://216.31.193.173/fish/shared/nfl/disease.htm

  14. โรคเกล็ดตั้ง • เกิดจากความผิดปกติของไต • การใช้ยามากเกินไป หรืออาจเกิดจากปลาได้รับโปรตีนมากเกินไป • อาจเป็นอาการของโรคโดยเฉพาะที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย • ยังไม่ทราบวิธีรักษาที่แน่นอนแต่ถ้าเกิดโรคนี้ขึ้นมาในบ่อเลี้ยงควรรีบแยกปลาที่เป็นโรคออกเสียเพราะโรคนี้สามารถระบาดติดต่อกันได้ง่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผิวหนังของปลาเกิดเป็นแผลขึ้น • ล้างบ่อให้สะอาด ตากบ่อให้แห้ง ล้างด้วยด่างทับทิม 1 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร http://www.bellaonline.com/articles/art3619.asp

  15. โรคท้องบวม • การผิดปกติของโครงสร้างภายใน • ความบกพร่องของการพัฒนาของเซลล์ • การติดเชื้อโรคในอวัยวะภายใน • การสะสมของของเหลวในช่องท้อง • ได้รับอาหารที่ไม่มีคุณภาพ

  16. โรคที่เกิดจากแบคทีเรียโรคที่เกิดจากแบคทีเรีย • แบคทีเรียหลายชนิดมีอยู่แล้วในแหล่งน้ำ จะทำอันตรายกับปลา เมื่อปลาอ่อนแอ • อาจเกิดจากคุณภาพไม่ดี อาหารเหลือ พันธุ์ไม้น้ำเน่า ปลาหนาแน่น • ก่อให้เกิดโรควัณโรคปลา ท้องบวม ครีบกร่อน ตัวด่าง แผลตามตัว

  17. โรคตกเลือด (hemorrhagic septicemia) • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ Aeromonas hydrophila • แพร่กระจายอยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำ • ตกเลือดบริเวณครีบ ลำตัว อาจเกิดเป็นแผลหลุม ท้องขยายใหญ่ ตับซีด • ใช้ oxytetracycline (Terramycin) 55 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักปลา 1 กิโลกรัมต่อวัน ผสมอาหารกินติดต่อกัน 10 วัน www.vet.uga.edu/vpp/undergrad/siegel

  18. ปรสิตหนอนสมอ : Lernea sp. • มีลักษณะหัวคล้ายสมอเรือ • ยาวประมาณ 0.6-1.2 เซนติเมตร • ใช้ส่วนหัวฝังไปในกล้ามเนื้อปลา • ใช้ดิพเทอร์เร็กซ์ 0.2 ppm แช่ตลอด ทำทุก 3 สัปดาห์ ติดต่อกัน 3 ครั้ง • ทำความสะอาดตู้และบ่อ www.biosci.ohio-state.edu/~parasite/lernea.html www.fish.wa.gov.au/sf/broc/fhinfo/fhinfo05.html

  19. วัณโรคปลา (Mycobacteriosis) • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก Mycobacterium spp. • พบในปลาสวยงามน้ำจืดและน้ำทะเล เช่น ปลากัด ปลาเทวดา • อาจติดเชื้อมาจากอาหารมีชีวิต พวกไรแดง ลูกน้ำ ติดเชื้อทางบาดแผลและพ่อแม่พันธุ์ • ปลาซูบผอม ลอยตัวบริเวณผิวน้ำ เกล็ดตั้ง ตาโปน • ไม่มียาต้านจุลชีพในการรักษา • รักษาความสะอาดของตู้

  20. โรคที่เกิดจากเชื้อรา • มักเกิดร่วมกับโรคอื่น ๆ มีเชื้อราเกิดเป็นปุยขาว • ฆ่าเชื้อราโดยใช้เบตาดีน 2 – 4 ppm แช่นาน 24 ชั่วโมง • ระวังมิให้ปลาเกิดบาดแผล และหมั่นดูแลรักษาความสะอาดตู้ www.bellaonline.com

  21. โรคที่เกิดจากไวรัส • ยังไม่มีการศึกษามากนักสำหรับ ไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคในปลาเขตร้อน • โรคที่พบบ่อยคือ โรคแสนปม (lymphocystis disease) ปลาที่เป็นโรคจะมีตุ่มลักษณะคล้ายหูดสีขาวหรือสีเหลืองบนเหงือก ครีบและ ลำตัว • รักษาไม่หาย ควรแยกปลาออก ทำความสะอาดตู้ ที่มา www.vet.uga.edu/vpp/clerk/Kurkjian/

  22. Koi Herpes Virus (KHV) • สร้างความเสียหาย 5.5 ดอลลาร์สหรัฐในอินโดนีเซีย และ 1.4 ดอลลาร์สหรัฐในญี่ปุ่น • มีการตกเลือดบริเวณเหงือก เนื้อตาย • ผู้นำเข้าจะต้องทำการกักกันปลาที่นำเข้ามาเป็นเวลา 15 วันโดยจะต้องสุ่มตัวอย่างปลาที่นำเข้ามาให้สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำจืดของกรมประมงทำการตรวจสอบ

  23. ปัญหาการขาดสารอาหาร • ปลาแต่ละชนิดต้องการสารอาหารต่างกัน • ปลาขาดโปรตีนจะเจริญเติบโตผิดปกติ แคระแกรน • ปลาที่ได้รับคาร์โบไฮเดรทหรือไขมันไม่เพียงพอ จะมีความผิดปกติที่ตับ ทำให้โอกาสติดเชื้อโรคได้ง่าย • ปลาขาดวิตามินซี จะมีกระดูกคดงอ หัวกระโหลกร้าว

  24. โรคเสียการทรงตัว • อาการ :ปลาจะว่ายน้ำหมุนควงตีลังกาเสมอๆไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ • อาจเกิดจากการผิดปรกติของกระเพาะลมโดยปลาอาจกินอาหารมากเกินไปทำให้อาหารไปกดกระเพาะลมทำให้กระเพาะลมทำงานผิดปรกติหรืออาจเป็นเพราะอุณหภูมิน้ำต่ำมากเกินไปทำให้กระเพาะลมของปลาทำงานผิดปรกติ • การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมอย่างกระทันหันทำให้ปลาปรับสภาพไม่ทัน • การป้องกันและการรักษาหลีกเลี่ยงอย่าให้ปลากินอิ่มมากจนเกินไปเพราะอาจเป็นสาเหตุให้อาหารไม่ย่อยซึ่งอาหารในกระเพาะของปลาอาจไปกดถูกกระเพาะลมควรควบคุมอุณหภูมิน้ำให้อยู่ในระดับสม่ำเสมอหลีกเลี่ยงการย้ายปลาไปมาโดยไม่จำเป็น ใช้เกลือ 0.5% (5 กรัมในน้ำ 1 ลิตร)

  25. ข้อควรระวังในการส่งปลาสวยงามเข้าประกวดข้อควรระวังในการส่งปลาสวยงามเข้าประกวด • สถานที่ประกวดปลา • ระยะทางในการขนส่ง • การปรับสภาพปลา • การป้องกันโรค

  26. ขอให้นักศึกษาทุกคนโชคดีในการศึกษาเล่าเรียนขอให้นักศึกษาทุกคนโชคดีในการศึกษาเล่าเรียน www.geocities.com/chanagun

More Related