1 / 25

บทวิเคราะห์ นโยบายที่อยู่อาศัยของประเทศไทย

บทวิเคราะห์ นโยบายที่อยู่อาศัยของประเทศไทย. โดย นายพงษ์ศักดิ์ ชิวชรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์ข้อมูลสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์. การอภิปราย “ความคิดเห็นของหน่วยราชการและผู้ทรงคุณวุฒิ ต่อนโยบายที่อยู่อาศัยประเทศไทย” 22 ธันวาคม 2548 ณ ห้องบอลรูม โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพฯ. สาระสำคัญ.

tyne
Télécharger la présentation

บทวิเคราะห์ นโยบายที่อยู่อาศัยของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทวิเคราะห์นโยบายที่อยู่อาศัยของประเทศไทยบทวิเคราะห์นโยบายที่อยู่อาศัยของประเทศไทย โดย นายพงษ์ศักดิ์ ชิวชรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์ข้อมูลสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ การอภิปราย “ความคิดเห็นของหน่วยราชการและผู้ทรงคุณวุฒิ ต่อนโยบายที่อยู่อาศัยประเทศไทย” 22 ธันวาคม 2548 ณ ห้องบอลรูม โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพฯ

  2. สาระสำคัญ • นโยบายที่อยู่อาศัยที่สำคัญในอดีต • นโยบายที่อยู่อาศัยที่สำคัญในปัจจุบัน • ธอส. กับ การสนับสนุนนโยบายรัฐ • ความคิดเห็นบางประการสำหรับ นโยบายที่อยู่อาศัยไทย

  3. นโยบายที่อยู่อาศัยที่สำคัญนโยบายที่อยู่อาศัยที่สำคัญ ของรัฐ ในอดีต

  4. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในอดีต • ภาพรวมนโยบายที่อยู่อาศัย ในอดีต • รัฐบาลไทยตระหนักถึงความสำคัญในการจัดหาที่อยู่อาศัยสำหรับประชาชน ตั้งแต่ สมัยรัฐบาลจอม-พล ป. พิบูลสงคราม • จัดตั้งหน่วยงานดูแลเรื่องที่อยู่อาศัยครั้งแรก ในปี 2483 คือ กองเคหสถานสงเคราะห์ สังกัด กรมประชาสงเคราะห์ ปี 2483

  5. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในอดีต • ภาพรวมนโยบายที่อยู่อาศัย ในอดีต (ต่อ) • ต่อมาปี 2493 จัดตั้ง “สำนักงานอาคารสงเคราะห์” มีหน้าที่ 1) ให้กู้เงินสร้างบ้าน บนที่ดินของตนเอง 2) สร้างอาคารสงเคราะห์เพื่อให้เช่า 3) สร้างที่อยู่อาศัยเช่าซื้อ และผ่อนส่ง • รัฐบาลจัดตั้ง ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ขึ้นในปี 2496 เป็นรัฐวิสาหกิจ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย และสินเชื่อที่อยู่อาศัย

  6. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในอดีต • ภาพรวมนโยบายที่อยู่อาศัย ในอดีต(ต่อ) • ต่อมา ปี 2516 รัฐบาลจัดตั้ง การเคหะแห่งชาติ เพื่อสร้างที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อยที่ขาดแคลนที่อยู่อาศัย • ธอส. จึงมีบทบาทเป็น สถาบันการเงินของรัฐที่ให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยแก่ประชาชน ตั้งแต่ ปี 2516 • ปี 2537 จัดตั้งอนุกรรมการนโยบายที่อยู่อาศัย เพื่อกำหนดนโยบายและ เป้าหมายการพัฒนาที่อยู่อาศัยของประเทศ • การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ปี 2547

  7. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในอดีต • แนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัย ในอดีต • Public Housing (Singapore Model) -> Flat การเคหะ เคหะชุมชน เมืองใหม่บางพลี -> เพื่อย้ายชาวสลัมออก • Housing for All (from HABITAT II & AGENDA 21) - ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถมีบ้านเป็นของตนเอง - คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมในที่อยู่อาศัยละชุมชน • รูปแบบการพัฒนาสลัม - การปรับปรุงชุมชนในที่เดิม - การย้ายชุมชนแออัดไปพื้นที่ใหม่

  8. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในอดีต • แนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัย ในอดีต (ต่อ) • พัฒนาภาคเอกชนให้เข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมที่อยู่อาศัยสำหรับ ผู้มีรายได้น้อยมากขึ้น โดย การส่งเสริมการลงทุน (บ้าน BOI) ซึ่งยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน • รัฐบาลได้ส่งเสริมภาคเอกชนให้มีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บ้านสำหรับผู้มีรายได้ปานกลาง-สูง

  9. นโยบายที่อยู่อาศัยที่สำคัญนโยบายที่อยู่อาศัยที่สำคัญ ของรัฐ ในปัจจุบัน

  10. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในปัจจุบัน • ส่งเสริมตลาดบ้านใหม่ • รัฐบาลยังคงให้ความสำคัญ กับพัฒนาอุตสาหกรรมที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง ในฐานะกลไกสำคัญทางเศรษฐกิจ • รัฐบาลส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีบทบาทอุตสาหกรรมที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะตลาดระดับกลางขึ้นไป • รัฐบาลเข้ามามีบทบาทในการสร้างบ้านสำหรับผู้มีรายได้น้อยมากขึ้น ใน Mega-Project เพราะเป็น Backlog ของการสร้างคุณภาพและความมั่นคงที่อยู่อาศัยในชีวิตของประชาชนที่ยากจน

  11. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในปัจจุบัน • ส่งเสริมตลาดบ้านมือสอง • การพัฒนาให้ที่อยู่อาศัยเป็นมากกว่าบ้าน แต่เป็น Asset และ ทางเลือกที่ดีสำหรับ Investment • สร้างโอกาสการพัฒนา เปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตด้านที่อยู่อาศัยของประชาชน ระดับต่าง ๆ • โดยให้ ตลาดบ้านมือสอง มี Liquidity ในการซื้อ-ขาย-แลกเปลี่ยน

  12. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในปัจจุบัน • ที่อยู่อาศัยราคาถูกจากภาคเอกชน (BOI ) • บ้านราคาไม่เกิน 600,000 บาท สร้างโดย ภาคเอกชน • ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก (BOI) • บ้านเอื้ออาทร โดย การเคหะแห่งชาติ (กคช.) • สร้างบ้านจำนวน 600,000 หน่วย ในปี 2548-2552 • สำหรับผู้มีรายได้น้อยทั่วประเทศ (รายได้ครอบครัวต่ำกว่า 15,000 บาท/เดือน) • คาดว่า ปี 2549 จะเสร็จประมาณ 90,000 หน่วย

  13. โครงการบ้านเอื้ออาทรที่คาดว่าจะแล้วเสร็จปี 2549

  14. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในปัจจุบัน • บ้านมั่นคง โดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) • แก้ปัญหาที่อยู่อาศัยให้คนจนเมือง (สลัม) ทั่วประเทศ 1,425,000 คน (285,000 หน่วย) สำหรับ 2,000 ครอบครัว ใน 200 เมือง ทั่วประเทศ ในปี 2548-2551 • โครงการนำร่อง 10 แห่งทั่วประเทศ ประมาณ 1,500 หน่วย • ปรับปรุง หรือสร้างใหม่ ในที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของชุมชน หรือ ได้รับสิทธิ์การเช่าระยะยาว (30-60 ปี) • รัฐมีเงินอุดหนุน สาธารณูปโภค และดอกเบี้ย

  15. นโยบายด้านที่อยู่อาศัยของรัฐ ในปัจจุบัน • บ้านธนารักษ์ • พื้นที่นำร่อง 5 จังหวัด คือ ภูเก็ต เชียงใหม่ สุพรรณบุรี ชลบุรี และ กรุงเทพฯ • นำที่ดินรัฐที่ว่างเปล่า และไม่ได้ใช้ประโยชน์ มาจัดสวัสดิการให้แก่ ข้าราชการ และลูกจ้างประจำของรัฐ • เช่าระยะยาว 30-60 ปี • รูปแบบ บ้านเดี่ยว ทาวเฮ้าส์ อาคารชุด • ราคาต่ำกว่าตลาด 30-50% • เป้าหมาย 30,000 หน่วย ภายใน 5 ปี

  16. ธอส. กับ การสนับสนุนนโยบายรัฐ

  17. ธอส. กับบทบาท ผู้นำตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัย • ธอส. สนับสนุนโยบายรัฐในการส่งเสริมให้ประชาชนมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง โดยจัดโครงการสินเชื่อพิเศษเฉพาะกลุ่ม • ธอส. ยังร่วมในการพัฒนาตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อการรองรับการขยายตัวของตลาดอสังหาริมทรัพย์ และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ • ธอส. ร่วมมือกับองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน ในฐานะพันธมิตรและหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เพื่อสร้างโอกาสการมีที่อยู่อาศัยให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง

  18. ปัจจัยที่อาจส่งผล ต่อนโยบายที่อยู่อาศัย

  19. ปัจจัยที่อาจส่งผลต่อนโยบายที่อยู่อาศัยปัจจัยที่อาจส่งผลต่อนโยบายที่อยู่อาศัย • ปัจจัยบวก • เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มที่จะดีขึ้น เช่น สหรัฐอเมริกา • ภาวการณ์ขยายตัวโดยรวมของเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มดีขึ้น: GDP ไตรมาส 3 = 5.3% (ธปท.) คาดว่าทั้งปี = 4.25-4.75% และ 2549 จะประมาณ 5% • เกิดการขยายตัวของตลาดบ้านมือสอง โดยรัฐให้การส่งเสริมด้านมาตรการภาษี • จำนวนผู้ที่ยังไม่มีบ้านเป็นของตนเองมีสัดส่วนถึง ร้อยละ 50 หรือยังมีอุปสงค์ที่อยู่อาศัยอีกมากในตลาด • เกิดโครงการที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่ โดยภาครัฐจำนวนมาก

  20. ปัจจัยที่อาจส่งผลต่อนโยบายที่อยู่อาศัยปัจจัยที่อาจส่งผลต่อนโยบายที่อยู่อาศัย • ปัจจัยลบ • ราคาน้ำมัน -> ยังอยู่ในระดับราคาสูงและอยู่ในช่วงขาขึ้น • ภาวะเงินเฟ้อ -> พ.ย. 2548 = 5.9% (กระทรวงพาณิชย์) และเฉลี่ยปี 2548 ทั้งปีน่าจะ = 4.5% แต่คาดว่าปี 2549 จะมีเงินเฟ้อประมาณ 5.0% • อัตราดอกเบี้ยขาขึ้น -> ครึ่งหลัง ปี 2548 ขึ้น 1-1.25% คาดว่าปี 2549 จะมีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกไม่น้อยกว่า 1% • ราคาที่อยู่อาศัยต่อหน่วยเพิ่มขึ้น สืบเนื่องจากต้นทุนทางการเงิน และราคาวัสดุก่อสร้าง ซึ่งส่งผลต่อ Loan Size เงินกู้ และการจัดหาเม็ดเงินมารองรับที่ต้องมากขึ้น

  21. ข้อคิดเห็นบางประการสำหรับข้อคิดเห็นบางประการสำหรับ นโยบายที่อยู่อาศัยของไทย

  22. ข้อคิดเห็นสำหรับนโยบายที่อยู่อาศัยไทย • ภาพรวม • ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนามากนัก • แต่มีแนวนโยบายที่แก้ปัญหาเฉพาะกลุ่มที่ชัดเจนขึ้น • ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อย • ประสบความสำเร็จอย่างมากในการพัฒนาให้ระบบตลาดเพื่อรองรับ Demand ที่อยู่อาศัยในตลาด • รัฐเข้ามาช่วยจัดสร้างที่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อย เป็นเรื่องที่เหมาะสมในขณะนี้ เพราะเป็น Backlog ในตลาด

  23. ข้อคิดเห็นสำหรับนโยบายที่อยู่อาศัยไทย • ภาพรวม • รัฐได้พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและคมนาคมขนส่งมากขึ้น ซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการพัฒนาที่อยู่อาศัย เป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างยิ่ง • ดังนั้นจึงกล่าวโดยรวมได้ว่า แนวนโยบายที่อยู่อาศัยของรัฐในปัจจุบันเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสม • แต่ รัฐควรจะต้องจัดทำแผนที่อยู่อาศัยแห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทาง หรือ Road Map สำหรับการพัฒนาของประเทศ และสามารถทำให้ทุกฝ่ายทั้ง ภาครัฐ และเอกชน เข้ามาร่วมได้อย่างเหมาะสม

  24. ข้อคิดเห็นสำหรับนโยบายที่อยู่อาศัยไทย • สิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการเพื่อให้นโยบายทีประสิทธิภาพ • การเร่งพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่อยู่อาศัยทั้งระบบที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ซึ่งครอบคลุม ทุก Segment • ควรจะมีหน่วยงานทำหน้าที่ประมาณการ ตัวเลขความต้องการที่อยู่อาศัย เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา • รัฐควรจะจัดทำโครงการในลักษณะ Public-Private Partnership (PPP) ในการพัฒนาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยมากขึ้น • ควรส่งเสริมให้เกิดการจัดทำโครงการที่อยู่อาศัยควบคู่กับแหล่งงานใหม่ ๆ หรือชุมชนเมืองใหม่

More Related