1 / 12

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554 - 2558

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554 - 2558. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวไทย พ.ศ.2555-2559. การกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน และการท่องเที่ยวไทย เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน. ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย.

Télécharger la présentation

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2554 - 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอาเซียนพ.ศ. 2554 - 2558

  2. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวไทยพ.ศ.2555-2559แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวไทยพ.ศ.2555-2559

  3. การกำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน และการท่องเที่ยวไทย เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย ผู้รับผิดชอบยุทธศาสตร์นี้คือ กรมท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา  การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว  การพัฒนาสินค้า บริการ การตลาดและการลงทุน  การฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน กำหนด ยุทธศาสตร์ 3 ด้าน 5 ยุทธศาสตร์  การพัฒนาคุณภาพบุคลากร การบริการสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว  การพัฒนาสินค้า บริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว  ด้านการส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงด้านการเดินทาง ท่องเที่ยวในภูมิภาค  การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว  การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และองค์กรปกครองท้องถิ่น ในการบริหารทรัพยากรการท่องเที่ยว • ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น • รอรัฐบาลสั่งการ • รอแผนงาน • รองบประมาณ ผลที่ออกมาเป็นไปตามระบบราชการ นำเอายุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวมาเป็นกรอบในการดำเนินการไปสู่หน่วยงานที่รับผิดชอบอีกหลายหน่วยงานตามขั้นตอนและระบบของราชการ

  4. กลยุทธ์การจัดการท่องเที่ยวของอาเซียนและของประเทศไทยโดยสำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-จีน-อาเซียน สถาบัน IDA กลยุทธ์ที่ 1 ให้องค์กรที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการท่องเที่ยวของอาเซียน ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ร่วมกันระหว่างองค์กรภาครัฐและเอกชน มี 3 กลยุทธ์หลักต่อไปนี้

  5. แผนการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจแผนการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจ แหล่งท่องเที่ยวไทยและอาเซียน การจัดการภาครัฐ เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวระดับจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด การจัดการภาคเอกชนเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวระดับ กลุ่มบริษัทหรือสมาคม หอการค้าจังหวัดสภาอุตสาหกรรมจังหวัด กลุ่มบริษัท สมาคม ชมรมมูลนิธิ จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด (องค์กปกครองส่วนท้องถิ่น และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง) สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-จีน-อาเซียน สถาบัน IDA ก A ข B ค C คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยวจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน(AEC) Z ฮ เตรียมการการต้อนรับ และการประชาสัมพันธ์ เตรียมการและจัดการแหล่งท่องเที่ยว เตรียมการที่พักและอาหาร เตรียมการของฝากของขวัญของที่ระลึก เตรียมการ เรื่อง ความสะดวกและความปลอดภัยปลอดภัย คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 1 คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 2 คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 3 คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 4 คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 5

  6. กลยุทธ์ที่ 2 องค์กรที่รับผิดชอบด้านการจัดการการท่องเที่ยวดำเนินการจัดหานักท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียนแลกเปลี่ยนกับนักท่องเที่ยวไทยไปเที่ยวกลุ่มประเทศอาเซียน

  7. ตัวอย่างกลยุทธ์ด้านการท่องเที่ยว โครงการนำร่องของ สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-จีน-อาเซียน กรณีการจัดการท่องเที่ยว ไทย-เมียนมาร์ บริษัทการจัดการท่องเที่ยวไทย บริษัทการจัดการท่องเที่ยวเมียนมาร์ การจัดการและจัดสรรผลประโยชน์อย่างเป็นธรรมร่วมกับทุกฝ่าย A ก B ข คณะกรรมการการจัดการท่องเที่ยว ไทย– เมียนมาร์ ประกอบด้วยตัวแทนของสถาบัน IDA และตัวแทนของบริษัทการท่องเที่ยวไทย-เมียนมาร์ ลงทะเบียนเป็นสมาชิกของสำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย– เมียนมาร์ ในประเทศไทย ลงทะเบียนเป็นสมาชิกของสำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย–เมียนมาร์ ในประเทศ เมียนมาร์ C ค D ง E จ Z ฮ จัดทำแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวร่วมกันระหว่าง ไทย - เมียนมาร์ 6 1 2 3 4 5 การคัดกรองบริษัทการจัดการท่องเที่ยวเข้าร่วม การคัดกรองกลุ่มนักท่องเที่ยว การเตรียมการแหล่งท่องเที่ยว การดูแลความปลอดภัย การประสานงานภาครัฐ เอกชน ทั้ง 2 ประเทศ การเตรียมการ การเดินทาง ยานพาหนะ ที่พัก ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก

  8. กลยุทธ์ที่ 3 องค์กรหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วยการท่องเที่ยวอาเซียน จัดตั้งสำนักบริหารจัดการการท่องเที่ยวเพื่อดำเนินอำนวยความสะดวกให้แก่กลุ่มธุรกิจการท่องเที่ยวอาเซียน ทุกประเทศ โดยองค์กรของรัฐทุกองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวให้การสนับสนุน

  9. สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย--จีน สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-เมียนมาร์ แผนการเชื่อมโยงธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-จีน-อาเซียน โดยสำนักงานบริหารจัดการของสถาบัน IDA สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-อินโดนีเซีย ประเทศจีน ประเทศจีน ประเทศเมียนมาร์ ประเทศจีน ประเทศอินโดนีเซีย สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-เวียดนาม สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-กัมพูชา ผู้จัดการ ผู้จัดการ ผู้จัดการ ผู้จัดการ ประเทศกัมพูชา สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-มาเลเซีย ผู้จัดการ สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-ฟิลิปปินส์ ผู้จัดการ ประเทศเวียดนาม ผู้จัดการ ผู้จัดการ ประเทศมาเลเซีย ผู้จัดการ ประเทศฟิลิปปินส์ สำนักบูรณาการธุรกิจการท่องเทียว ไทย-จีน-อาเซียน สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-บรูไน ผู้จัดการ สำนักวิจัยและพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยว ไทย-สิงคโปร์ ประเทศบรูไน สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ การท่องเที่ยวไทย-จีน-อาเซียน ประเทศสิงคโปร์

  10. สรุปแผนการปฏิบัติการภายใต้กลยุทธ์การพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทยเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ก่อนเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)(พ.ศ. 2557-2558) * ดำเนินการให้เสร็จภายใน พ.ศ.2558

  11. แผนการปฏิบัติการภายใต้กลยุทธ์การพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทยเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หลังเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)(พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป) * บริหารจัดการตามแผนตั้งแต่ ปี 2559 เป็นต้นไป

More Related