70 likes | 299 Vues
เสนอผลงานวิชาสุขศึกษา. โครงงานกลุ่ม อินดี้ ห้อง ม .1/15. ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1. ด.ญ. เบญจมาศ บุญสมทบ เลขที่ 26 2. ด.ช. กา รันย ภาค เทศหริ่ง เลขที่ 6 3. ด.ช. กิตติคม นาคเอี่ยม เลขที่ 7 4. ด.ช. ยุทธนา พรหมใจ เลขที่ 37
E N D
เสนอผลงานวิชาสุขศึกษาเสนอผลงานวิชาสุขศึกษา โครงงานกลุ่มอินดี้ ห้อง ม.1/15 ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1. ด.ญ. เบญจมาศ บุญสมทบ เลขที่ 26 2. ด.ช. การันยภาค เทศหริ่ง เลขที่ 6 3. ด.ช. กิตติคม นาคเอี่ยม เลขที่ 7 4. ด.ช. ยุทธนา พรหมใจ เลขที่ 37 5. ด.ช. ศุภชัย จตุเทน เลขที่ 41 ข้อมูลสมาชิกกลุ่ม
ค่าดัชนีมวลกาย คนที่ ค่าดัชนีมวลกาย สรุป 1 น้อยกว่า18.5 ผอม 2 18.5-22.5 สมส่วน 3 18.50-22.50 น้ำหนักเกิน 4 23.00-24.90 อ้วน 5 มากกว่า 30.00 อ้วนมาก คนที่ 1. ร่างกายสมส่วนการดูแลร่างกายและสุขภาพเพิ่มเติมคือควรออกกำลังกายและทายอาหารให้ครบห้าหมู่เท่านี้ร่างกายก็แข็งแรง คนที่ 2. ร่างกายอยู่ในเกณฑ์ผอมดั้งนั้นจึงต้องบำรุงร่างกายด้วยอาหารหารให้ครบห้าหมู่แล้วยังต้องบำรุงร่างกายโดยการออกกำลังกายอีกด้วย คนที่ 3. ร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วนควรดูแลสุขภาพไม่ให้อ้วนไปกว่านี้คือการเน้นการทายผักและผลไม้ คนที่4. อยู่ในเกณฑ์อ้วนมากจึงต้องควบคุมอาหารและออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี คนที่5. อยู่ในเกณฑ์ผอมควรทานอาหารให้ครบห้าหมู่และทานให้ครบสามมื้อ
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน 2. เพื่อแสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย 3. เพื่อศึกษาวิธีการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย 4. เพื่อควบคุมน้ำหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 5. เพื่อสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่นคือ ขนาดของร่างกายร่างกายของเด็กชายและเด็กหญิงมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในอัตราการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันเด็กหญิงมีการเจริญเติบโตตั้งแต่อายุ 10-12 ปีหลังจากนั้น อัตราการเจริญเติบโตจะค่อยๆลดลงหรือาจไม่เพิ่มขึ้นในระหว่างอายุ 15-17 ปีส่วนเด็กชายมีอัตราการเจริญเติบโตตั้งแต่อายุ 12 ปีจนถึงอายุ 17-20 ปีจึงจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่คงที่ 2. แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัยแบ่งออกเป็น 6 ปัจจัยคือ 2.1.เพศปกติเพศหญิงจะเจริญเติบโตกว่าเพศชาย 2.2.ต่อมต่างๆ ภายในร่างกานที่ผลิตสารต่าง ๆ อาจทำงานมากหรือน้อยต่างกันไป 2.3.อาหาร การที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนทำให้ร่างกายเจริญเติบโตช้า 2.4.อากาศและแสงแดด ถ้ามีอากาศดีและได้รับแสงแดดบ้างจะทำให้เราแข็งแรงและเจริญเติบโตตามปกติ 2.5.การบาดเจ็บและโรคภัยที่เป็นมาแต่เดิมถ้าป่วยมาแต่เด็กก้จะทำให้การเจริญเติบโตช้า 2.6.การเรียนรู้ที่จะฝึกหัดหรือฝึกฝนโดยเฉพาะการเล่นกีฬาและการทำกิจกรรมต่างๆ จะทำให้พัฒนาของกล้ามเนื้อดีและทำให้ร่างกายเจริญเติบโตเร็วขึ้น
3. อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่นคือสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายที่วัยรุ่นควรได้รับก็ล้วนมาจากเนื้อสัตว์ เนื้อปลา ผัก ไข่ เนื้อสัตว์และผลไม้และควรบริโภคหลังปรุงเส็รจใหม่ๆงดเว้นอาหารที่ไม่มีประโยชน์ยกเว้นขนมขบเคี้ยวหรืน้ำหวานน้ำอัดลมเท่านี้สุขภาพก็จะดียิ่งถ้าได้เพิ่มออกกำลังกายไปอีกร่างกายจะแข็งแรงสมส่วนทำให้วัยรุ่นพร้อมจะแสดงออกและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข 4. วิธีการดูแลน้ำหนักตัว มีทั้งหมด 5 ประการคือ 4.1. รับประทานอาหารจำพวกต่อไปนี้ในปริมาณที่เพียงพอ ได้แก่ผลไม้พืชผักเมล็ดธัญพืช และอาหารที่มีเส้นใยต่าง ๆ อาหารประเภทเหล่านี้หาซื้อได้สะดวกและให้พลังงานตำ ช่วยให้คุณรู้สึกอิ่มได้ยาวนานกว่า 4.2. รับประทานอาหารประเภท เนื้อ นมไขมันต่ำและโปรตีนอื่น ๆอาหารประเภทนี้จะทำให้อิ่มนานไม่รู้สึกหิว 4.3. ปรับพลังงานของอาหารที่ให้พลังงานที่เพียงพออยู่เสมอ 4.4. รับประทานอาหารมื้อปรกติและประเภททานเล่นมีส่วนช่วยอย่างมากเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการรับประทานอาหารมากกว่าปรกติ 4.5.ควบคุมขนาดสัดส่วนร่างกายการวิจัยบ่งชี้ว่าการวิจัยของมนุษย์เพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมาและสาเหตูสำคัญเกิดจากการบริโภคอาหารที่เพิ่มขึ้น 5. วิธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางร่างกายคือการที่ร่างกายจะมีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์ต้องได้รับการเอาใจใส่และยึดหลักต่อไปนี้ 5.1. ควรรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารให้ครบทั้งห้าหมู่ 5.2. การออกกำลังกายเป็นการเคลื่อนไหวให้กล้ามเนื้อทำงานและร่างกายได้นำพลังงานที่ได้สะสมไว้ออกมาใช้ 5.3. การพักผ่อนนอนหลับ การนอนหลับถือเป็นการพักผ่อนที่ดีที่สุดและทำให้ร่างกายมีโอกาสซ่อมแซมส่วนที่สึกหล่อจะเห็นได้จากเมื่อตื่นนอนใหม่ ๆ หน้าตาจะสดชื่นแจ่มใส
บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน 1. ควรเพิ่มมื้ออาหารตามความสมควรและไม่ควรรับประทานของจุกจิก 2. ควรออกกำลังกายให้เหมาะสมต่อสภาพร่างกายของตนเองโดยคำนึงถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพ 3. การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเป็นประจำทุกอาทิตย์จะช่วยทำให้เราติดตามสภาพร่างกายได้ดีขึ้น 4. เริ่มปฏิบัติตั้งแต่วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน 2555 ถึงวันพุธที่ 2 มกราคม 2556รวม 8 สัปดาห์ 5. ทำการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทุกวันพุธ 6. นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผลของสมาชิกในกลุ่ม บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
เปรียบเทียบน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพในแต่ละด้านเทอม 1/2 มีความแตกต่างกันเช่นไร • การเปรียบเทียบน้ำหนักบางคนดีขึ้นบางคนไม่ค่อยดี ดูจากการเปรียบเทียบดังนี้ • คนที่1 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 2กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 5ซม. จากเทอมที่แล้ว • คนที่2 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 2กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3ซม. จากเทอมที่แล้ว • คนที่3 มีน้ำหนักตัวลดลงจากเทอมที่แล้ว 1กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3ซม. จากเทอมที่แล้ว • คนที่4 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 3กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3ซม.จากเทอมที่แล้ว • คนที่5 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 7กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 7ซม.จากเทอมที่แล้ว
ส่วนการทดสอบสมรรถภาพมีบางคนส่วนมากทำได้ดีขึ้นทั้งความอ่อนตัว การวิ่งบางคนทำเวลา การวิ่งน้อยลง ดันพื้น ลุกนั่งทำได้ดีขึ้น ส่วนกราฟที่อ้างอิงเพื่อวัดการเจริญเติบโตของทั้งเพศหญิง-เพศชาย • 1. นน.ตามเกณฑ์สส. 2. สส.ตามเกณฑ์อายุ 3. นน.ตามเกณฑ์อายุ • คนที่ 1 ค่อนข้างผอม ค่อนข้างเตี้ย นน.ค่อนข้างน้อย • คนที่ 2 ค่อนข้างผอม ค่อนข้างเตี้ย นน.ตามเกณฑ์ • คนที่ 3 สมส่วน ส่วนสูงตามเกณฑ์ และน้ำหนักตามเกณฑ์ • คนที่ 4 เริ่มอ้วน ค่อนข้างเตี้ยน้ำหนักค่อนข้างมาก • คนที่ 5 ค่อนข้างผอม ค่อนข้างเตี้ย น้ำหนักตามเกณฑ์ บทที่ 5 สรุปผลและการอภิปราย คนที่1 ทำได้สำเร็จบ้างค่ะเป็นบางคนเพราะบางคนก็ไม่สำเร็จเพราะอาจกินอาหารที่มีแคลลอรี่มากเกินไปทำให้มีน้ำหนักมากขึ้น ส่วนเรื่องส่วนสูงมีการเพิ่มขึ้นแต่อย่างไรก็ถือว่าสำเร็จเพราะสามารถรู้น้ำหนักของต้นเองส่วนสูงของตนเอง ไปใช้ในการทำให้ทุกอย่างในร่างกายดีขึ้นทั้งนี้ก็ขอขอบคุณคุณครูค่ะที่ให้เราทำงานกลุ่มที่ดีขนาดนี้ค่ะ บรรณานุกรม https://sites.google.com/site/kruwiruttwk/kar-ce-rith-teibto-laea-phathnakar-khxng-way-run http://main.ptpk.ac.th/mana_Online/m1/unit3/n3-2.html http://www.student.chula.ac.th/~53373133/teenagerfood.htm http://www.learners.in.th/blogs/posts/367287