1 / 36

การทดสอบสมมุติฐาน

การทดสอบสมมุติฐาน. นายบุญทวี อิ่มบุญตา. การทดสอบสมมติฐาน. สุ่ม( random ). กลุ่มตัวอย่าง ( sample ) จำนวน n. ประชากร ( population ) จำนวน N. เทคนิคการสุ่ม ( sampling Technique) - ขนาดตัวอย่าง ( sample size ). อ้างอิงไปสู่. ความหมายของสมมติฐาน.

Télécharger la présentation

การทดสอบสมมุติฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทดสอบสมมุติฐาน นายบุญทวี อิ่มบุญตา

  2. การทดสอบสมมติฐาน สุ่ม(random) กลุ่มตัวอย่าง(sample) จำนวน n ประชากร(population) จำนวน N • เทคนิคการสุ่ม (sampling Technique) - ขนาดตัวอย่าง (sample size) อ้างอิงไปสู่

  3. ความหมายของสมมติฐาน สมมติฐาน คือ คำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล

  4. สมมติฐาน (Hypothesis) มี 2 ชนิด ♣ สมมติฐานทางการวิจัย (Research hypothesis) ♣ สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis)

  5. 1. สมมติฐานทางการวิจัย (Research hypothesis) • เป็นข้อความที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปร เช่น นักเรียนชายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกับนักเรียนหญิง หรือ นักเรียนชายมีผลสัมฤทธิ์สูงกว่านักเรียนหญิง

  6. 2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis) - ตั้งขึ้นเพื่อใช้ทดสอบว่าสมมติฐานทางการวิจัยที่ผู้วิจัยตั้งไว้เป็นจริงหรือไม่ - เขียนอยู่ในรูปแบบของโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้อยู่ในรูปที่สามารถทดสอบได้ด้วยวิธีการทางสถิติ - สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนในสมมติฐานทางสถิติจะเป็นค่าพารามิเตอร์

  7. สมมติฐานทางสถิติมี 2 ชนิด คือ • 2.1 สมมติฐานหลัก/สมมติฐานที่เป็นกลาง/สมมติฐานไร้นัยสำคัญ(Nullhypothesis) สัญลักษณ์ที่ใช้ H0 • 2.2 สมมติฐานรอง/สมมติฐานทางเลือก/สมมติฐานอื่น (Alternative hypothesis) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ H1

  8. สมมติฐานหลัก (null hypothesis)แทนด้วย H0 เป็นสมมติฐานที่แสดงให้เห็นว่าไม่มีความแตกต่างระหว่าง กลุ่มหรือไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เช่น H0 : 1 = 2 หมายความว่า ค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากรกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 เท่ากันหรือไม่มีความแตกต่างกัน

  9. สมมติฐานรอง(Alternative hypothesis) แทนด้วย H1 เป็นสมมติฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีความแตกต่างระหว่างกลุ่มหรือมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

  10. เช่น H1 :1 ≠ 2 หมายความว่า ค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากรกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 ไม่เท่ากันหรือมีความแตกต่างกัน H1 :  ≠ 0 หมายความว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

  11. ตัวอย่างที่ 1 • วัตถุประสงค์การวิจัย“ เพื่อเปรียบเทียบลักษณะความเป็นผู้นำระหว่างนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย ” • สมมติฐานทางการวิจัย “ นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีลักษณะความเป็นผู้นำแตกต่างกัน ” • สมมติฐานทางสถิติ H0 : 1 = 2 H1 : 1 ≠ 2

  12. ตัวอย่างที่ 2 • วัตถุประสงค์การวิจัย“เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์” • สมมติฐานทางการวิจัย “เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์”

  13. ตัวอย่างที่ 2 • สมมติฐานทางสถิติ H0 :  = 0 H1 :  ≠ 0

  14. ตัวอย่างการตั้งสมมติฐานทางการวิจัยและสมมติฐานทางสถิติไปในรูปแบบต่างๆตัวอย่างการตั้งสมมติฐานทางการวิจัยและสมมติฐานทางสถิติไปในรูปแบบต่างๆ

  15. ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน • ขั้นที่ 1 ตั้งสมมติฐานทางสถิติ • ขั้นที่ 2 กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติ ( กำหนด  ) • ขั้นที่ 3 เลือกสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน • ขั้นที่ 4 คำนวณค่าสถิติที่คำนวณ • ขั้นที่ 5 การตัดสินใจ มี 2 กรณี 1) ปฏิเสธ (reject) H0 และ ยอมรับ (accept) H1 ถ้าค่าที่คำนวณได้ ตกอยู่ในพื้นที่วิกฤติ 2) ยอมรับ H0 ถ้าค่าสถิติที่คำนวณได้อยู่ในเขตยอมรับ H0

  16. ความคลาดเคลื่อน ในการทดสอบสมมติฐาน

  17. 1. ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 (type error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากผู้วิจัย ปฏิเสธสมมติฐานที่เป็นกลางทั้งๆที่สมมติฐานที่เป็นกลางนั้นเป็นจริง หรือไม่ยอมรับสมมติฐานที่ถูก ใช้สัญลักษณ์

  18. ความหมายของ  • = .05 หมายถึง ในการทดสอบ 100 ครั้งจะยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนชนิดที่  อยู่ 5ครั้ง หรือ

  19. 2. ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ (type error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากผู้วิจัย ยอมรับสมมติฐานที่เป็นกลางทั้งๆที่สมมติฐานที่เป็นกลางนั้นเป็นเท็จ หรือยอมรับสมมติฐานที่ผิด ใช้สัญลักษณ์

  20. ตารางการตัดสินใจในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติตารางการตัดสินใจในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ

  21. ประเภทของการทดสอบสมมติฐาน

  22. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียวการทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว

  23. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว (ปลายทางขวา) ขอบเขตการปฏิเสธ H0 ขอบเขตการยอมรับH0 ค่าวิกฤติ เกณฑ์ในการพิจารณา

  24. ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่จะเกิดค่าสถิติทดสอบภายใต้ H0 ค่าสถิติ ค่าคำนวณ

  25. ขอบเขตการปฏิเสธ H0 ขอบเขตการยอมรับH0 ค่าวิกฤติ ค่าคำนวณ การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว (ปลายทางขวา)

  26. ขอบเขตการปฏิเสธ H0 ขอบเขตการยอมรับH0 ค่าความน่าจะเป็นที่จะเกิดค่าสถิติตาม H0 เมื่อกำหนด  ค่าคำนวณ ค่าวิกฤติ การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว (ปลายทางขวา)

  27. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว (ปลายทางซ้าย) ขอบเขตการยอมรับ H0 ขอบเขตการปฏิเสธ H0 ค่าวิกฤติ

  28. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว นักศึกษาหญิงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิจัยสูงกว่านักศึกษาชาย เช่น สมมติฐานทางสถิติ

  29. การทดสอบสมมติฐานแบบสองทางการทดสอบสมมติฐานแบบสองทาง

  30. ขอบเขตการปฏิเสธ H0 ขอบเขตการปฏิเสธ H0 ขอบเขตการยอมรับ H0 ค่าวิกฤติ ค่าวิกฤติ กำหนด  = .05

  31. แนวทางการตัดสินใจในการทดสอบสมมุติฐานแนวทางการตัดสินใจในการทดสอบสมมุติฐาน 1) ใช้ค่าคำนวณเทียบค่าวิกฤต กรณีการทดสอบทางเดียว ให้นำค่า  และ dfไปใช้เปิดหาค่าวิกฤต กรณีการทดสอบสองทาง ให้นำค่า  หารด้วย 2 ก่อนและdf ไปใช้เปิดหาค่าวิกฤต เกณฑ์ (ไม่คิดเครื่องหมาย) ค่าคำนวณ  ค่าวิกฤต ให้ปฏิเสธ H0 ค่าคำนวณ  ค่าวิกฤต ให้ยอมรับH0

  32. แนวทางการตัดสินใจในการทดสอบสมมุติฐานแนวทางการตัดสินใจในการทดสอบสมมุติฐาน 2) ใช้ค่า Sig (2 –tailed)ในตาราง Print out เทียบ  กรณีการทดสอบทางเดียว นำค่า Sig (2 –tailed)/2 ไปเทียบ  กรณีการทดสอบสองทาง นำค่า Sig (2 –tailed) ไปเทียบ  เกณฑ์ ค่า Sig  ให้ปฏิเสธH0 ค่า Sig   ให้ยอมรับ H0

  33. แนวทางการตัดสินใจในการทดสอบสมมุติฐานแนวทางการตัดสินใจในการทดสอบสมมุติฐาน กรณีการทดสอบทางเดียว 2) ใช้ค่า Sig (2 –tailed)ในตาราง Print out นำค่า Sig (2 –tailed)หารด้วย 2 แล้วนำผลหารมาเปรียบเทียบ โดยใช้หลัก ผลหาร   ให้ปฏิเสธH0 ผลหาร  ให้ยอมรับ H0

  34. การทดสอบสมมติฐานแบบสองทาง เช่น ผู้บริหารหญิงและผู้บริหารชายมีภาวะผู้นำ แตกต่างกันหรือไม่ สมมติฐานทางสถิติ

  35. ระดับนัยสำคัญทางสถิติ (Level of Significance: ) • ในการกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ยอมรับความคลาดเคลื่อนนั้นขึ้นอยู่กับธรรมชาติหรือหัวข้อการวิจัย • ในกรณีที่มีความสำคัญมาก ถ้ามีการตัดสินใจผิดพลาดแล้วเกิดอันตรายหรือความเสียหายร้ายแรงก็จะกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ต่ำๆ เช่น .001หมายความว่า ผู้วิจัยยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนชนิดที่1ได้ 1 ครั้ง ใน 1,000 ครั้ง • สำหรับการวิจัยทางการศึกษาหรือทางพฤติกรรมศาสตร์ส่วนใหญ่จะกำหนดไว้ที่ .05 หรือ .01

More Related