390 likes | 794 Vues
จุดมุ่งหมาย. ความปลอดภัยของผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ สิ่งแวดล้อมและชุมชน. เข็มมุ่ง -ลดการติดเชื้อสำคัญ -ป้องกันการติดเชื้อ -ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลและชุมชน -ส่งเสริมสุขอนามัยที่ดีเพื่อป้องกันโรคสำหรับประชาชน. โครงสร้างงาน IC. คณะกรรมการบริหาร. ทีมที่เกี่ยวข้อง PCT ENV HRD MSD
E N D
จุดมุ่งหมาย ความปลอดภัยของผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ สิ่งแวดล้อมและชุมชน
เข็มมุ่ง -ลดการติดเชื้อสำคัญ -ป้องกันการติดเชื้อ -ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลและชุมชน -ส่งเสริมสุขอนามัยที่ดีเพื่อป้องกันโรคสำหรับประชาชน
โครงสร้างงานIC คณะกรรมการบริหาร ทีมที่เกี่ยวข้อง PCT ENV HRD MSD เวชระเบียน คณะทำงานIC ข้อมูลเฝ้าระวัง อุบัติการณ์ การประเมินความเสี่ยง RM IR หน่วยงานต่างๆ
ระบบIC กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ ชุมชน ควบคุมการติดเชื้อ ป้องกันการแพร่เชื้อ
กิจกรรมงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลกิจกรรมงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ระบบIC กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ ชุมชน
ผลการดำเนินงาน กลุ่มผู้รับบริการ
ผลการเฝ้าระวัง 3 ปีย้อนหลัง
เป้าหมายปี 55 • ลดการติดเชื้อสำคัญ • CAUTI ไม่เกิน 2 ครั้ง/1000 catheter day • VAP ไม่เกิน 5 ครั้ง/1000 ventilator day • HAP ไม่เกิน 5 ครั้ง/ 1000 bed ridden • การติดเชื้อแผล episiotomy ไม่เกิน 1% • ประสิทธิภาพและความครอบคลุมการเฝ้าระวังมากกว่า 80% • ต้องมีมาตรการป้องกันเชื้อดื้อยาและแนวทางการใช้ Antibiotic • มาตรการสำคัญเพื่อป้องกันการติดเชื้อ • อัตราการล้างมือถูกต้องตามหลัก my 5 moment มากกว่า80%
การพัฒนาคุณภาพ • ทำGAP Analysis และทำ CQI เรื่อง CAUTI • ทำGAP Analysis และทำ CQI เรื่อง VAP • ทำ CQI เรื่อง การป้องกันการติดเชื้อที่แผล episiotomy • ทบทวนการวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาลร่วมกับPCT • จัดอบรมพยาบาลเรื่อง hand hygiene/การทำแผล • การวินิจฉัยการติดเชื้อ และการป้องกันการติดเชื้อสำคัญ • ปรับแบบฟอร์มเฝ้าระวังและแบบฟอร์มอื่นๆให้เหมาะกับการใช้งาน และการวิเคราะห์ข้อมูล
การพัฒนาคุณภาพ • งานเภสัชกรรมทำ DUE ยา ceftazidime และให้ข้อมูล • ความเหมาะสมและผลการใช้ยาแก่แพทย์และทีม PCT • PCTร่วมกับICทบทวนการวินิจฉัย HAP และ VAP • โดยใช้แนวทางModified CPIS • (Clinical Pulmonary Infection Score) • และกำหนดแนวทางการใช้ Antibiotic ที่ใช้สำหรับ • เชื้อดื้อยา • แนวทางการใช้ ciprofoxazin และ ceftazidime
ผลการเฝ้าระวัง 3 ปีย้อนหลัง
SAFE ENVIRONMENT เป้าหมาย เครื่องมือปลอดภัย สิ่งแวดล้อมปลอดภัย -clean equipment -น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย -น้ำใช้สะอาดปลอดภัย -การจัดการของเสีย ขยะ และน้ำทิ้ง ได้มาตรฐาน -การระบายอากาศในจุดเสี่ยง..ต้องปลอดภัย
ผลการดำเนินงาน ลดความเสี่ยง ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ควบคุมคุณภาพได้ง่าย ประหยัดทรัพยากร -CSSD แบบรวมศูนย์
ผลการดูแลสิ่งแวดล้อม • การจัดโซน ผู้ป่วยรอตรวจ / OR LR CSSD ทันตกรรม • การจัดห้องแยกสำหรับผู้ป่วยติดเชื้อ การคัดกรองผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ กำหนดช่องทางการเคลื่อนย้ายและแยกผู้ป่วยติดเชื้อ • การระบายอากาศ • การเติมอากาศที่OPD • การระบายอากาศในห้องCPR • การระบายอากาศในห้อง LAB
สุ่มเพาะเชื้อในเครื่องมือปราศจากเชื้อ 3 ครั้ง ผล negative สุ่มเพาะเชื้อในน้ำยาฆ่าเชื้อ 3 ครั้ง ผล negative ผลตรวจคุณภาพน้ำดื่ม 9 ครั้ง ผล ไม่พบ bacteria coliform ผลตรวจคุณภาพน้ำจากระบบบำบัดน้ำเสีย ครั้งล่าสุด ผล ปกติ สุ่มตรวจมือโรงครัว พบปนเปื้อนE.coli 1 ครั้ง สุ่มตรวจซ้ำผล ลบ
การส่งเสริมสุขอนามัยที่ดีและป้องกันการติดเชื้อสำหรับประชาชนการส่งเสริมสุขอนามัยที่ดีและป้องกันการติดเชื้อสำหรับประชาชน -ให้ความรู้ผู้นำสุขภาพเช่น อสม. ครู และผู้นำนักเรียน และให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรค
การเข้าถึงการล้างมือ สำหรับประชาชน
การเชื่อมโยงกับ รพสต.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - การคัดกรอง และดูแลผู้ป่วยTB -นิเทศและประเมินงานIC รพสต.ปีละ 2 ครั้ง -จัดทำคู่มือ IC. ให้ รพสต.
การดูแลผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้านการดูแลผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้าน -feed อาหาร -คาสายสวนปัสสาวะ -มีแผลเรื้อรัง -ล้างไต -เจาะคอ
การดูแลสุขภาพบุคลากร เข็มมุ่ง -เจ้าหน้าที่ปลอดภัย
เฝ้าระวังสุขภาพบุคลากรเฝ้าระวังสุขภาพบุคลากร -ตรวจสุขภาพและปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ -ตรวจสุขภาพประจำปี -ตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง -ตรวจสมรรถภาพทางกายบุคลากร -เฝ้าระวังการเจ็บป่วยและอุบัติเหตุจากการทำงาน -วิเคราะห์ภาวะสุขภาพบุคลากรและส่งต่องานที่เกี่ยวข้อง
ลดและป้องกันความเสี่ยงทางอาชีวอนามัยลดและป้องกันความเสี่ยงทางอาชีวอนามัย • ประเมินและจัดการความเสี่ยงทางอาชีวอนามัย • ตามกระบวนการทำงานร่วมกับหน่วยงาน • ประเมินและจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม ปรับสิ่งแวดล้อม • ให้ปลอดภัยและเอื้อต่อการทำงาน (ร่วมกับ RM+ENV) • จัดหาและสนับสนุนอุปกรณ์ป้องกันต่างๆให้พร้อมใช้ทุกเวลา • มีส่วนร่วมในการจัดบุคลากรที่มีปัญหาสุขภาพให้เหมาะสมกับงาน
ความเสี่ยงทางชีวภาพ • -การเข้าถึงการล้างมือ • - วัคซีน • -PPE+training • -Zone • -การระบายอากาศ • การเติมอากาศที่OPD • การระบายอากาศในห้องCPR • การระบายอากาศในห้อง LAB
ความเสี่ยงจากสิ่งคุกคามทางเคมีความเสี่ยงจากสิ่งคุกคามทางเคมี • -กำหนดมาตรการความปลอดภัยจากการใช้แกส EO • -ลดและปรับการใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
แผนพัฒนาต่อเนื่อง • ลดการติดเชื้อที่เป็นปัญหา ( แผลepisiotomy , เชื้อดื้อยา ) • การป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยา • ปรับการระบายอากาศที่หอผู้ป่วยใน • ทำช่องทางการขนย้ายของสะอาดและของปนเปื้อนเชื้อโรค และดูแลกำกับให้ทำตามระบบ • ระบบการติดตามและป้องกันการติดเชื้อผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ผลงานที่ภาคภูมิใจ • การรวมศูนย์การทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ • การศึกษาการคงสภาพการทำให้ปราศจากเชื้อ • Best practice เรื่อง Cleaning process • การเข้าถึงการล้างมือ
ด้วยความขอบคุณ งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล